การพัฒนาสมรรถนะการบริหารจัดการของผู้ประกอบการ ผลิตภัณฑ์ชุมชน ประเภทอาหารในจังหวัดเพชรบุรี

Management Competencies Development of FoodProcessing Community Entrepreneursin Phetchaburi Province

Authors

  • โสภาพร กลํ่าสกุล คณะวิทยการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี
  • วัชระ เวชประสิทธิ์ คณะวิทยการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

Keywords:

การพัฒนาสมรรถนะ, ผู้ประกอบการผลิตภัณณฑ์ชุมชน, การบริหารจัดการ หลักสูตรฝึกอบรม

Abstract

            การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสมรรถนะการบริหารจัดการของผู้ประกอบการ ผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทอาหารในจังหวัดเพชรบุรี2) เพื่อสร้างหลักสูตรการพัฒนาสมรรถนะการบริหาร จัดการของผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทอาหารในจังหวัดเพชรบุรีและ 3) เพื่อประเมิน หลักสูตรการพัฒนาสมรรถนะการบริหารจัดการของผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทอาหารใน จังหวัดเพชรบุรีผู้วิจัยดำ เนินการโดยใช้การวิจัยและพัฒนาดังนี้ ขั้นตอนที่1 การศึกษาสมรรถนะการบริหารจัดการที่จำ เป็นในการพัฒนาผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ ชุมชนประเภทอาหารในจังหวัดเพชรบุรีใช้การวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ประกอบการผลิตภัณฑ์ ชุมชน จำ นวน 120 ราย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผู้ประกอบการมีสมรรถนะการ บริหารจัดการผลิตภัณฑ์ชุมชนประเภทอาหารในจังหวัดเพชรบุรีในภาพรวมระดับมาก เมื่อพิจารณา องค์ประกอบของสมรรถนะทั้ง 5 ด้านพบว่า สมรรถนะที่อยู่ในระดับมากได้แก่ ด้านการบริหารการ ผลิต ด้านการตลาด ด้านการจัดการ และด้านการจัดการทรัพยากรมนุษย์ส่วนสมรรถนะด้านการเงิน และการบัญชีอยู่ในระดับปานกลางเท่านั้น ขั้นตอนที่ 2 การสร้างหลักสูตรสำ หรับพัฒนาสมรรถนะการบริหารจัดการของผู้ประกอบการ ผลิตภัณฑ์ชุมมชนประเภทอาหารในจังหวัดเพชรบุรีโดยสร้างหลักสูตรจากการศึกษาเชิงปริมาณใน ขั้นตอนที่ 1 นำ มาบูรณาการเนื้อหาสมรรถนะหลักทั้ง 5 ด้าน โดยกำ หนดเนื้อหาของหลักสูตรเป็น

References

กรมการพัฒนาชุมชน. (2544). แนวทางดําเนินงานหนึ่งตําาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ: กระทรวงมหาดไทย.

ชาญ สวัสดิ์สาลี. (2550). คู่มือนักฝึกอบรมมืออาชีพ: การจัดดําเนินการฝึกอบรมอย่างมีประสิทธิผล.กรุงเทพฯ: สวัสดิการสํานักงาน ก.พ.

ชูชัย สมิทธิไกร. (2551). การฝึกอบรมบุคลากรในองค์การ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธงพล พรหมสาขา ณ สกลนคร และอุทิศ สังขรัตน์. (2557). แนวทางการพัฒนาการดําเนินงานของวิสาหกิจชุมชนในเขตลุ่มทะเลสาบสงขลา. วารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 10(1): 97-121.

ธวัชชัย กฤติยาภิชาตกุล. (2547). ร้อยเรื่องเมืองพานิชย์. กรุงเทพฯ: สันติภาพ พริ้นท.์

ธํารงศักดิ์ คงคาสวัสดิ์. (2548). เริ่มต้นอย่างไร เมื่อจะนํา Competency มาใช้ในองค์การ. กรุงเทพฯ:สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).

นิรมล ศตวุฒิ. (2551). การพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคําแหง.

นิศารัตน์ โชติเชย. (2555). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสําเร็จในการปฏิบัติงานด้านการผลิตสําหรับสินค้าหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในประเทศไทย. วารสารรามคําแหง มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 29(4):183-202.

วรนารถ แสงมณี. (2546). ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารธุรกิจ. กรุงเทพฯ: เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2545). องค์การและการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

สกล บุญสิน. (2560). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. เชียงใหม่: ศูนย์บริหารงานวิจัย สําานักงานมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สาโรจน์ โอพิทักษ์ชีวิต. (2546). แผนธุรกิจที่ประสบความสําเร็จ. กรุงเทพฯ: โนเบิ้ลบุ๊ค.

สุกัญญา รัศมีธรรมโชติ. (2547). แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้วย Competency Based Learning. กรุงเทพฯ: ศิริวัฒนาอินเตอร์ พริ้นท์.

สุธิดา เสถียรมาศ. (2555). การศึกษาอิทธิพลของกลยุทธ์ในการดําเนินงาน บุคลิกการเป็นผู้ประกอบการและการให้ความสําคัญในหน้าที่ทางธุรกิจที่ส่งผลต่อความสําเร็จในการดําเนินธุรกิจ SMEs.วิทยานิพนธ์ บธ.ม. (การประกอบการ). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร. ถ่ายเอกสาร.

สํานักงานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564). กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี. (2562). รายงานผลการดําเนินโครงการหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ์(OTOP) ประจําาปีงบประมาณ 2561. เพชรบุรี: สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเพชรบุรี.

สํานักมาตรฐานการศึกษา สํานักงานสภาสถาบันราชภัฏ กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). การจัดการและการวางแผนธุรกิจ. กรุงเทพฯ: ศรีสยามพริ้นท์แอนด์แพคก์.

สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. (2560). โครงการมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ของสํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) สืบค้นเมื่อ 5 มิถุนายน 2560, จาก http://www.krumai.com/standard/page7.html

Blanchard, P.N., & Thacker, J.W. (2007). Effective Training: Systems Strategies, and Practices. 3rd ed. Upper Saddle River, NJ: Pearson Education.

Boyatzis, R. (1982). The Competent Manager-A Model for Effective Performance.New York: John Wiley & Son.

Delahaye, B.L. (2005). Human Resource Development Adult Learning and KnowledgeManagement. 2nd ed. Sydney & Melbourne: John Wiley.

Knowles, M. S; Holton, E. F. III & Swanson, R. A. (2005). The Adult Learner: The Definitive Classic in Adult Education and Human Resources Development. 6th ed. San Diego, CA: Elsevier

Spencer, L; McClelland, D. & Spencer, S. (1993). Competency Assessment Method.Boston: Hay/McBer Research.

Sydanmaanlakka, P. (2002). An Intelligent Organization. Oxford: Capstone.

Downloads

Published

2024-04-30