การส่งเสริมการปลูกเฮมพ์ในพื้นที่ปนเปื้อนแคดเมียม เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชน: กรณีศึกษาตำบลแม่ตาว อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก
Promoting Hemp Plantation on Cadmium Contaminated Agricultural Areas for Community Product Development: A Case Study of Mae Tao Subdistrict, Mae Sot District, Tak Province, Thailand
Keywords:
เฮมพ์, ผลิตภัณฑ์ชุมชน, แม่ตาว, แม่สอด, แคดเมียมAbstract
การส่งเสริมการปลูกเฮมพ์ในพื้นที่เกษตรกรที่ปนเปื้อนแคดเมียม เพื่อพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ ชุมชนในตำ บลแม่ตาว อำ เภอแม่สอด จังหวัดตาก มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพแวดล้อมในบริบท ของชุมชน ปัญหาผลกระทบจากสารแคดเมียมที่ปนเปื้อน ทัศนคติและความคิดเห็นของคนในชุมชน เพื่อการส่งเสริมการปลูกเฮมพ์และนำ มาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชนในพื้นที่ตำ บลแม่ตาว อำ เภอแม่สอด จังหวัดตาก เพื่อแสวงหาแนวทางในการแก้ปัญหาชุมชนอย่างยั่งยืนด้วยการส่งเสริมการปลูกพืชทดแทน หรือพืชที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ และยังคงสามารถดำ รงวิถีชีวิตเกษตรกรรมดั่งเดิมได้การศึกษา ในครั้งนี้เป็นกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพ มีการเก็บข้อมูลระดับปฐมภูมิผ่านการลงพื้นที่ภาคสนาม การสัมภาษณ์เชิงลึก และการสัมภาษณ์กลุ่ม ในมุมมองของผู้นำและตัวแทนในชุนชน ผลการศึกษาพบว่า ชุมชนส่วนใหญ่มีการประกอบอาชีพเกษตรกรรม เช่น การปลูกข้าว ประกอบกับมีวัฒนธรรมและความ เชื่อต่างๆ บนพื้นฐานของวิถีชีวิตเกษตรกรและวัฒนธรรมการปลูกข้าว นอกจากนี้ยังพบว่า การปนเปื้อน แคดเมียมในดินของเกษตรกรส่งผลกระทบในด้านของการประกอบอาชีพ ด้านรายได้และด้านสุขภาพ เช่น ประชากรในชุมชนมีอาการปวดข้อ ปวดกระดูก ซึ่งเป็นผลมาจากการได้รับสารปนเปื้อนแคดเมียม แนวทางในการแก้ไขปัญหาทางหนึ่ง คือ การปลูกพืชทดแทน เช่น เฮมพ์หรือกัญชงที่สามารถผลิตเป็นReferences
กรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย. (2545). การดําเนินงานหนึ่งตําาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.
กรมควบคุมมลพิษ. (2545). แคดเมียม (Cadmium). พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: กรมควบคุมมลพิษ.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2558). โครงการสํารวจและวิเคราะห์ผลกระทบจากการทําเหมืองทั้งประเทศเพื่อเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหา และการใช้ประโยชน์พื้นที่ศึกษาภายใต้ที่ลุ่มแม่ตาว อําเภอแม่สอด จังหวัดตาก. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 25 (พ.ศ. 2547) ออกตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 เรื่อง กําาหนดมาตรฐานคุณภาพดินตีพิมพ์ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 121 ตอนพิเศษ 119 ลงวันที่ 20 ตุลาคม 2547.
เลิศ อินทะวาฬ และคณะ. (2560). ผลของการบริหารจัดการผลกระทบที่เกิดจากการปนเปื้อนของสารแคดเมียมในพื้นที่ตําบลแม่ตาว อําเภอแม่สอด จังหวัดตาก. วารสารมหาลัยพายัพ, 27(2): 115-132.
สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2547). รายงานสัมมนาวิชาการปัญหามลภาวะโลหะหนักในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2552). เศรษฐกิจสร้างสรรค์: รายงานการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2561). คู่มือพนักงานเจ้าหน้าที่ในการกําากับดูแลซึ่งยาเสพติดให้โทษประเภท 5 เฉพาะเฮมพ์. กรุงเทพฯ: สําานักพิมพ์พระพุทธศาสนาแห่งชาติ.
Chen, L., Sun, T., Sun, L., Zhou, Q. & Chao, L. (2006). Influence of Phosphate Nutritional Level on the Phytoavailability and Speciation Distribution of Cadmium and Lead in Soil. Journal of Environmental Sciences, 18: 1247-1253.
CODEX. (2015). General Standard for Contaminants and Toxins in Food and Feed (CODEX STAN 193-1995, last amended in 2015). Retrieved on May 20, 2019, from http://www.fao.org/fao-who-codexalimentarius/codex-texts/list-standards/en/
Griggs, D. (2013). Sustainable Development Goals for People and Planet. Nature, 495: 305-307.
Schluttenhofer, C. & Yuan, L. (2017). Challenges towards Revitalizing Hemp: A MultifacetedCrop. Trends in Plant Science, 22(11): 917-929.