การขับเคลื่อนการจัดการการท่องเที่ยวบนฐานทุนชุมชนชาติพันธุ์ ของตำ บลแม่สลองนอก อำ เภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
The Driving of the Tourism Management Based on the Social Capital of Ethnic Communities in Maesalong-Nok Sub District, Mafahluang District, Chiang Rai Province
Keywords:
การจัดการการท่องเที่ยว, ทุนชุมชน, ชุมชนชาติพันธุ์Abstract
งานวิจัยนี้มุ่งศึกษาทุนชุมชนชาติพันธุ์ที่สนับสนุนการจัดการท่องเที่ยวของชุมชน วิเคราะห์ ศักยภาพการจัดการท่องเที่ยวและหาแนวทางในจัดการท่องเที่ยวของชุมชนบนฐานทุนชุมชนชาติพันธุ์ โดยใช้กระบวนการทางนวัตกรรม กลุ่มตัวอย่างคือผู้ประกอบการท่องเที่ยว15คน ผู้นำชุมชน ชาวบ้าน ผู้แทนหน่วยงานภาครัฐ 10 คน แกนนำผู้บริหารจัดการการท่องเที่ยวและเจ้าหน้าที่องค์การบริหาร ส่วนตำ บล 10 คน และนักท่องเที่ยว 385 คน เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์แบบ มีโครงสร้าง การสนทนากลุ ่มย ่อยและการประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีส ่วนร ่วม วิเคราะห์ข้อมูล เชิงปริมาณโดยโปรแกรมสำ เร็จรูปทางสถิติ ข้อมูลเชิงคุณภาพนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์จัดหมวดหมู่ เพื่อสร้างข้อสรุปหาคำตอบตามวัตถุประสงค์ ผลการศึกษาพบว่า ทุนชุมชนชาติพันธุ์ที่สนับสนุนการจัดการท่องเที่ยวมี4 ด้าน คือ ทุนมนุษย์ ทุนสังคม ทุนกายภาพ และทุนธรรมชาติศักยภาพการจัดการการท่องเที่ยวของชุมชนภาพรวมอยู่ใน ระดับปานกลาง ( x = 2.83) ด้านทรัพยากรการท่องเที่ยว ระดับปานกลาง ( x = 3.26) รองลงมาคือ ด้านการบริการโครงสร้างพื้นฐานและการบริการทางการท่องเที่ยว ระดับปานกลาง ( x = 3.04) และ ด้านการตลาดการท่องเที่ยว ในระดับปานกลาง ( x = 2.85) เช่นกัน แนวทางการจัดการการท่องเที่ยว โดยใช้กระบวนการทางนวัตกรรม คือ (1) ด้านการตลาดการท่องเที่ยว ใช้นวัตกรรมผลิตภัณฑ์การสร้าง สื่อการประชาสัมพันธ์(2)ด้านการบริการโครงสร้างพื้นฐานและการบริการทางการท่องเที่ยวใช้นวัตกรรมReferences
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2560). แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2560–2564).สืบค้นเมื่อ 22 มกราคม 2561, จาก http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/740824.
ทินกฤต รุ่งเมือง. (2558). การพัฒนารูปแบบการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพื่อส่งเสริมเครือข่ายกิจกรรมการท่องเที่ยวของกลุ่มทวารวดี 4 จังหวัด. วารสารร่มพฤกษ์, 33(1): 139-159.
ธงชัย ภูวนาถวิจิตร. (2560). การพัฒนาทุนทางวัฒนธรรมและการจัดการแหล่งท่องเที่ยวในรูปแบบหมู่บ้าน วัฒนธรรมเวียงท่ากาน อําาเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 5(1): 35-40.
ปฏิพัทธ์ ตันมิ่ง. (2560). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวกลุ่มชาติพันธุ์ไทดําา บ้านนาป่าหนาด อําาเภอเชียงคาน จังหวัดเลย. ในมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์, การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 (น.539-547). เพชรบูรณ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์.
ประภาพรรณ ไชยานนท์ และคณะ. (2558). ศักยภาพของชุมชนในเขตเทศบาลนครเชียงรายในการพัฒนาการท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ: สําานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสําานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
ภัทรภร จิรมหาโภคา.(2560). การสร้างความเข้มแข็งของทุนมนุษย์ในการจัดการการท่องเที่ยวโดยชุมชนของชาวอีสานล้านนาเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน. วารสารกระแสวัฒนธรรม,18(34): 3-17.
รัชฎา จิรธรรมกุล. (2559). แนวทางการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์ด้านวัฒนธรรมในชุมชนบ้านแขนน อําาเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต. วารสารกระแสวัฒนธรรม, 17(31): 3-17.
รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร และภาคภูมิ ภัควิภาส. (2556). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมชนเผ่าเพื่อความยั่งยืน. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน, 6(1): 42-59.
เลหล้า ตรีเอกานุกูล. (2561). ศักยภาพทุนชุมชนเพื่อการเป็นพื้นที่พิเศษด้านการท่องเที่ยวเทศบาลตําาบลเวียงเชียงแสน จังหวัดเชียงราย. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่, 10(2): 146-159.
วิญญา พิชกานต์. (2544). แนวทางพัฒนาการท่องเที่ยวโดยการเดินเท้าในเมืองเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ผ.ม. (การวางแผนภาคและเมือง). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ถ่ายเอกสาร.
ศิรินันทน์ พงษ์นิรันดรและคณะ. (2559). แนวทางในการพัฒนาศักยภาพการจัดการท่องเที่ยวอําาเภอวังนํา้าเขียว จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิทยาลัยบัณฑิตศึกษาการจัดการ, 9(1): 251-253.