ปัจจัยจูงใจในการทำ งานของพนักงานมหาวิทยาลัยสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
Job Motivation Factors of Employees of SavannakhetUniversity Lao’s People Democratic Republic
Keywords:
ปัจจัยจูงใจในการทําางาน, ปัจจัยสุขอนามัย, ปัจจัยจูงใจAbstract
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยจูงใจในการทำงานของพนักงานมหาวิทยาลัยสะหวันนะเขต สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากพนักงานของมหาวิทยาลัย สะหวันนะเขตจำ นวน 150 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือ Importance-Performance Analysis (IPA) ผลการวิจัยพบว่า พนักงานให้ความสำคัญต่อปัจจัยจูงใจในการทำ งานในภาพรวมทั้ง 2 ปัจจัย อยู่ในระดับมากโดยให้ความสำ คัญต่อกลุ่มปัจจัยสุขอนามัยในระดับมากที่สุด ซึ่งประกอบด้วย ด้านความมั่นคงในการทำ งาน ด้านการควบคุมดูแล ด้านการบริหารของมหาวิทยาลัย ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล ด้านตำแหน่งงาน ด้านรายได้และสวัสดิการ และสภาพแวดล้อมในการทำ งาน ตามลำดับ ในด้านปัจจัยจูงใจในการทำ งานที่พนักงานมหาวิทยาลัยสะหวันนะเขตให้ความสำ คัญในระดับมาก ได้แก่ ด้านความก้าวหน้าในการทำ งาน ลักษณะของงานที่น่าสนใจ ด้านความรับผิดชอบ ด้านความ สำ เร็จในการทำ งาน และด้านการยอมรับ ตามลำดับ สำ หรับการวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือIPA ของปัจจัยReferences
คณากร ไชยอุดรรุ่งเจริญ. (2558). แรงจูงใจในการทําางานของพนักงานมหาวิทยาลัยสายบริการ มหาวิทยาลัยพะเยา. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. (บริหารธุรกิจ) เชียงใหม่: คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ถ่ายเอกสาร.
พัฒนชัย ชายสิทธิ์. (2555). ความพึงพอใจในการทําางานของบุคลากรวิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. (บริหารธุรกิจ) เชียงใหม่: คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ถ่ายเอกสาร.
มหาวิทยาลัยสะหวันนะเขต. (2558). แผนกลยุทธ์มหาวิทยาลัยสะหวันนะเขต ฉบับที่ 0439/มข.15 ระยะ 2016-2020-2025-2030. สะหวันนะเขต: มหาวิทยาลัยสะหวันนะเขต.
_____________________. (2559). ตารางสถิตินักศึกษามหาวิทยาลัยสะหวันนะเขตประจําาปีการศึกษา 2559-2560. สะหวันนะเขต: งานวิชาการมหาวิทยาลัยสะหวันนะเขต.
วรวุฒิ อริยะสุนทร. (2558). ปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อการทําางานของพนักงานระดับปฏิบัติการ บริษัท วี.เพาเดอร์เทค จําากัด. วิทยานิพนธ์ บธ.ม. (บริหารธุรกิจ) เชียงใหม่: คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ถ่ายเอกสาร.
ศิริพร พงศ์ศรีโรจน์. (2540). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Herzberg, Frederick; Mausner, Bernard; & Snyderman, Barbara B. (1959). The Motivationto Work. 2nd ed. New York: John Wiley.
Martilla, J.A. & James, J.C. (1977). Importance-Performance Analysis. Journal of Marketing. 41: 77-79.
Schermerhorn, J. R; Hunt, J.G. & Osborn, R.N. (2003). Organizational Behavior. New Jersey: Wiley.
Tonge, J. & Moore, S.A. (2007). Importance-satisfaction Analysis for Marine-park Hinterlands: A Western Australian Case Study. Tourism Management. 28(3): 768-776.
Young, P. T. (1961). Motivation and Emotion: A Survey of the Determinants of Human and Animal Activity. New York: Wiley.