เครื่องเขินล้านนา (LANNA LACQUER WARE)

Authors

  • ตระกูลพันธ์ พัชรเมธา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา Rajamangala University of Technology Lanna.

Abstract

งานหัตถกรรมพื้นบ้านของชาวไทยทางภาคเหนือตอนบน หรือชาวไทยล้านนานั้น มีงานศิลปหัตถกรรมที่แสดงความเป็นเอกลักษณ์ของตนเองอย่างหนึ่งก็คือ งานเครื่องเขินเครื่องเขิน หมายถึง ภาชนะ เครื่องใช้ ขึ้นรูปด้วยไม้ไผ่สานและนำมาเคลือบด้วยยางรัก หลังจากนั้นนำมาตกแต่งลวดลายให้สวยงามด้วยเทคนิคการเขียนลายแบบต่าง ๆ โดยผลิตจากชุมชนชาวเชียงใหม่ที่มีเชื้อสายชาวไทยเขินมาแต่โบราณ คุณค่าของงานหัตถกรรมเครื่องเขินล้านนาจึงเป็นสิ่งที่มีคุณค่าควรต่อการอนุรักษ์รักษาไว้ ซึ่งจะบอกเล่าเรื่องราวความเป็นมาต่าง ๆ ทางด้านศิลปวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิตและความเจริญรุ่งเรืองมาแต่อดีตที่สามารถนำข้อมูลหลักฐานใช้อ้างอิงได้ทางด้านวิชาการ ได้แก่ เรื่องราวทางประวัติศาสตร์ความเป็นมาของงานเครื่องเขิน รูปแบบงานเครื่องเขินและการตกแต่งลวดลายเครื่องเขินที่เป็นอัตลักษณ์ของชาวล้านนา ซึ่งจะเป็นประโยชน์และมีคุณค่าต่อคนรุ่นหลังได้ศึกษาภูมิปัญญาที่เป็นองค์ความรู้ของบรรพบุรุษคำสำคัญ: หัตถกรรม  เครื่องเขิน  ล้านนาThai folk handicrafts of the upper northern region or Lanna Thai people have their own unique handicraft artwork, the lacquer ware. Lacquer ware is valuable for conservation. It tells the story of the culture, tradition and way of life in the past. Used as a reference for academic, history, form and decorative patterns of lacquer ware a local identity. It will be useful and valuable to later generations to study the knowledge of the ancestors.Keywords: Craft, Lacquer Ware, Lanna

Downloads

Download data is not yet available.

Author Biography

ตระกูลพันธ์ พัชรเมธา, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา Rajamangala University of Technology Lanna.

สาขาวิชาออกแบบอุตสาหกรรม คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาIndustrial Design Division, Faculty of Arts and Architecture, Rajamangala University of Technology Lanna.

Downloads

Published

2019-12-27

How to Cite

พัชรเมธา ต. (2019). เครื่องเขินล้านนา (LANNA LACQUER WARE). วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11(22, July-December), 75–94. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/swurd/article/view/12098