ภาษาอังกฤษกับการเติบโตทางเศรษฐกิจ (ENGLISH LANGUAGE AND ECONOMIC GROWTH)
Abstract
การศึกษานี้มุ่งพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยความสามารถทางภาษาอังกฤษและการพัฒนาเศรษฐกิจ แบบจำลองเป็นประเภทข้อมูลผสมแบบตัวอย่างซ้ำควบคู่กับแบบจำลอง Seeming Unrelated Regression ฐานข้อมูลครอบคลุมปี 2011 – 2016 จำนวนประเทศ 77 ประเทศ การศึกษานี้ใช้สมการถดถอยวิเคราะห์การเติบโตทางเศรษฐกิจแบบ Barro ผลการศึกษาเชิงประจักษ์พบว่า ปัจจัยภาษาอังกฤษส่งผลทางบวกต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ ดังนั้นประเทศที่มีระดับทักษะการใช้ภาษาอังกฤษที่สูงกว่าเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ โดยเฉลี่ยจะส่งผลให้ประเทศเหล่านั้นมีแนวโน้มการเติบโตทางเศรษฐกิจเร็วกว่า รวมทั้งระดับทักษะการใช้ภาษาอังกฤษที่สูงกว่าส่งผลทางบวกต่อดัชนีการพัฒนามนุษย์ ดังนั้นระดับการใช้ภาษาอังกฤษนับได้ว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่ส่งผลระดับการพัฒนาทุนมนุษย์คำสำคัญ: ภาษาอังกฤษ การเติบโตทางเศรษฐกิจ ข้อมูลผสมแบบตัวอย่างซ้ำThis study takes into account the relationship between English proficiency and economic development. Panel Data Models and Seeming Unrelated Regression are employed. The data-base covers the period of 2011 - 2016 with 77 countries. The Barro-type panel growth regression is employed. The empirical results show that English Proficiency has positive effect to economic growth. Therefore, countries with higher levels of English proficiency among the division of its population are likely to grow faster. The results also indicate that higher level of English proficiency is positively related to the level of Human Development Index. Thus, it implies that the levels of English proficiency managed to count as a significant component of human capital development.Keywords: English, Economic Growth, Panel DataDownloads
Download data is not yet available.
Downloads
Published
2019-01-10
How to Cite
เกียรติกังวาฬไกล ณ., & สัตยานุวัตร์ ว. (2019). ภาษาอังกฤษกับการเติบโตทางเศรษฐกิจ (ENGLISH LANGUAGE AND ECONOMIC GROWTH). วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 10(20, July-December), 58–69. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/swurd/article/view/10843
Issue
Section
บทความวิจัย