แนวทางการพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก

GUIDELINES FOR THE DEVELOPMENT OF DIGITAL CITIZENSHIP OF ADMINISTRATORS UNDER VOCATIONAL EDUCATION IN PHITSANULOK PROVINCE

Authors

  • อนพัทย์ บัวคง สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • สถิรพร เชาวน์ชัย สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

Keywords:

ความเป็นพลเมืองดิจิทัล, ผู้บริหารสถานศึกษา

Abstract

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก และศึกษาแนวทางการพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก โดยมีการดำเนินการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูในวิทยาลัยสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 210 คน แบ่งออกเป็น ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 21 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงและครู จำนวน 189 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งขั้น  เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางการพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิที่ จำนวน 5 คน  เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษา ความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลกในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านมารยาทในการใช้งานดิจิทัล และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการสื่อสารผ่านระบบดิจิทัล 2) ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก พบว่า ผู้บริหารสำนักงานอาชีวศึกษาจังหวัดควรสร้างแผน นโยบายและทิศทางพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัลในด้านต่างๆให้แก่ผู้บริหารสถานศึกษา ครบทั้ง 5 ด้าน มีการสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างถูกต้อง เหมาะสม ปลอดภัย และสามารถนำมาประยุกต์ใช้กับการบริหารงานหรือการจัดการเรียนการสอนในแต่ละสถานศึกษาได้ มีการสนับสนุนงบประมาณการจัดอบรมให้ความรู้แก่ผู้บริหารสถานศึกษา มีการจัดแหล่งเรียนรู้ เข้านิเทศติดตามการปฏิบัติงานของผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อการนำไปสู่การปฏิบัติอย่างแท้จริง

References

กรณัฏฐ์ ฐิตากรพงศ์สถิต. (2565). สภาพความต้องการจำเป็นและแนวทางพัฒนาทักษะดิจิทัลของครูเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษามุกดาหาร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). นครพนม: มหาวิทยาลัยนครพนม.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และ กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์กรรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

กัญญาพัชร รุนสงค์. (2559). บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ลพบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

จรัชญา บุดดีสิงห์. (2566). คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.

จำเริญ จิตรหลัง. (2550). บทบาทของผู้บริหารในยุคของการปฏิรูปการศึกษา. วิทยาจารย์, 3, 17–21.

จิติมา วรรณศรี. (2564). การบริหารจัดการศึกษายุคดิจิทัล. พิษณุโลก: รัตนสุวรรณการพิมพ์ 3.

จุฑามาส จันทร์มณี. (2563). บทบาทของผู้บริหารในการพัฒนาบุคลากรยุคดิจิทัลของโรงเรียนมัธยมศึกษาในอำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 3 (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ฉัตรพงศ์ ชูแสงนิล. (7 ธันวาคม 2561). ยุคแห่งเมืองดิจิทัล. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. https://www.scimath.org/article-technology/item/8659-2018-09-11- 07-58-08

ณิรดา เวชญาลักษณ์. (2560). ภาวะผู้นำทางการบริหาร. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ไทเกอร์. (1 กันยายน 2563). ภาวะผู้นำในยุคดิจิทัลคืออะไร. ไทยวินเนอร์. https://thaiwinner.com/digital-leadership

ธีรศักดิ์ อุปรมัย อุปไมยอธิชัย และสุชาติ บางวิเศษ. (2563). การบริหารและการจัดการศึกษาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ธีระ รุณเจริญ. (2552). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: แอลทีเพรส.

ฐิตินันทน์ ผิวนิล. (2564). มารยาทดิจิทัล ข้อกำหนดในการสื่อสารออนไลน์ที่พลเมืองดิจิทัลไทยควรตระหนัก. วารสารวิชาการ กสทช., 5(5), 402-418.

นิตยา นาคอินทร์. (2563). 8 ทักษะความฉลาดทางดิจิทัลของนักศึกษาวิชาชีพครูสู่การเป็นพลเมือง 4.0. วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 14(1), 9-10.

บังอร ปัสมะริสสา. (2560). ความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาสหวิทยาเขตปิยมิตร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 4 (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่10). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

บุญอนันต์ พินัยทรัพย์. (2562). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในยุคดิจิทัล. นนทบุรี: โรงพิมพ์รัตนไตร.

ปอส์ ไกรวิญญ์. (2560). กลยุทธ์การพัฒนาผู้บริหารโรงเรียนเอกชนตามแนวคิดความเป็นพลเมืองดิจิทัล (วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปาณัสม์ ชุมภูยาละ. (2563). แนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงยุคดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 2.วารสารวิชาการบัณฑิตศึกษาและสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 10(1), 137-143.

พรรณอร อุชุภาพ. (2561). การศึกษาและวิชาชีพครู. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เพชรประภาร์ ชุมสาย. (2559). การจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี.

ภารดี อนันต์นาวี. (2553). หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางการบริหารการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 3). ชลบุรี: สำนักพิมพ์มนตรี.

ยุธิน คนซื่อ. (2562). คุณลักษณะผู้บริหารสถานศึกษามืออาชีพที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพ ของการบริหารงานสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ร้อยเอ็ด: มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด.

ราณี จีนสุทธิ์. (2564). แนวทางพัฒนาครูวิถีใหม่ฉลาดรู้เท่าทันดิจิทัล. ครุสภาวิทยาจารย์, 2(2), 27-30.

วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง. (2561). คู่มือพลเมืองดิจิทัล. กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล กระทรวงดิจิทัล

เพื่อเศรษฐกิจและสังคม ร่วมกับบริษัท กูเกิล (ประเทศไทย) จำกัด.

วรลักษณ์ สงวนแก้ว. (2552). Digital Citizen: พลเมืองดิจิทัล. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

http://www.stou.ac.th/study/sumrit/1-59(500)/page2-1-59(500).html

วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์. (2557). การรู้เท่าทันสื่อดิจิทัล 2. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยแม่โจ้. http://www.infocommmju.com/icarticle/images/stories/icarticles/ajwittaya/digital/ Digital literacy2.pdf.

วิไลวรรณ หาดี. (2565). การพัฒนาสมรรถนะในการปฏิบัติงานด้านการสื่อสารในองค์กรของเลขานุการผู้บริหารวิทยาลัยในยุคดิจิทัล (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

ศิริพงษ์ เศาภายน. (2550). หลักการบริหารการศึกษา ทฤษฎีและแนวปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: บุ๊คพอยท์.

ศิริรัตน์ ปะตังถาเน. (2566). สภาพความต้องการจำเป็นและแนวทางพัฒนาความฉลาดทางดิจิทัลของพลเมืองสำหรับครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). นครพนม: มหาวิทยาลัยนครพนม.

สรานนท์ อินทนนท์. (2561). ความฉลาดทางดิจิทัล (พิมพ์ครั้งที่ 3). ปทุมธานี: วอล์ค ออน คลาวด์.

สันติ บุญภิรมย์. (2552). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์บุ๊คพอยท์.

สัมมา รธนิธย์. (2556). หลัก ทฤษฎี และปฏิบัติการบริหารการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: พิมพ์ดีจำกัด.

สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2563). แผนยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ (พ.ศ. 2563 - 2565). http://www.moe.go.th.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ครุสภาลาดพร้าว.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟิก.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). การดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2552). ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา พ.ศ. 2552. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.

สำนักงานเลขาธิการครุสภา. (2549). คู่มือการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ครุสภาลาดพร้าว.

สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2550). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพฯ: วิรัตน์เอ็ดดูเคชั่นจำกัด.

โสภิดา วีรกุลเทวัญ. (2561). เท่าทันสื่อ อำนาจในมือพลเมืองดิจิทัล. กรุงเทพฯ: สถาบันสื่อเด็กและเยาวชน.

อรุณี ทองนพคุณ. (2558). การศึกษาบทบาทการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.

อัมภา ไทยจำนงค์ศิลย์. (2557). ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาตามทัศนะของผู้บริหาร ครู และคณะกรรมการสถานศึกษาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ลพบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

Chris, A. Suppo. (2013). Digital Citizenship Instruction in Pennsylvania Public School: School Leaders experienced beliefs and current practices (Doctor of ducation). Indiana: Indiana University of Pennsylvania.

Couros, A., & Hildebrandt, K. (2015). Understanding Literacy in A Connected Word: Why Teaching Digital Skills is A Crucial Part of Higher Education, and How to Make it Work. Canada: University of Regina Canada.

English, Fenwick W. (1992). Educational Administration. New York: Harper Collins.

Futurelearn. (2021). The elements of digital citizenship. https://www.futurelearn.com/info/blog/what-is-digital-

citizenship-teacher-guide

Global Digital Citizen Foundation. (2015). School program. https://globaldigitalcitizen.org/digital-citizenship-school-program

International Society for Technology in Education (ISTE). (2015). ISTE standards for students. https://www.iste.org/standards/for-students

NetSafe New Zealand. (2014). Digital citizenship on New Zealand School : Overview. NewZealand

Ramona S. McNeal. (2015). Digital the Internet society and Participation. http://www.scribd.com/doc13853600Digital-Citizenship-the-Internctsociety-and-Participation-By-Karen-Mossberger-Caroline-J-Tolbert-and-Ramona-S-McNcal

Ribble, M., & Bailey, G. (2007). Digital citizenship in schools. Washington DC: ISTE.

Ribble, M. (2015). Digital citizenship in schools: Nine elements all students should know (3rd ed.). Washington

DC: International Society for Technology in Education.

Schrum, L. & Levin, B. (2009). Leading 21st century schools. CA: Corwin.

Sheninger, E. C. (2014). Digital leadership: changing paradigms for changing times. United States of America: Corwin.

UNESCO. (2013). Fostering digital citizenship education in Asia-Pacific.

https://bangkok.unesco.org/content/fostering-digital-citizenship-education-asia-pacific

Waterford. (2022). 6 Elements of Digital Citizenship. https://www.waterford.org/resources/elements-of-digital-citizenship-for-digital-natives/

Downloads

Published

2024-06-18

How to Cite

บัวคง อ., & เชาวน์ชัย ส. . . (2024). แนวทางการพัฒนาความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก: GUIDELINES FOR THE DEVELOPMENT OF DIGITAL CITIZENSHIP OF ADMINISTRATORS UNDER VOCATIONAL EDUCATION IN PHITSANULOK PROVINCE. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 19(1), 213–228. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jre/article/view/16049