การพัฒนาความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์โดยใช้แผนที่ความคิด

Main Article Content

ชวัลณัฐ แทนคำ

Abstract

Enhancing Science Learning Outcome with Mind Map
 
Chawannat  Tankham
 
รับบทความ: 20 มิถุนายน 2555; ยอมรับตีพิมพ์: 12 กันยายน 2555
 
 
บทคัดย่อ
การศึกษานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาความรู้โดยการใช้แผนที่ความคิด และศึกษาทักษะการเขียนแผนที่ความคิด กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดสังเวช จำนวน 39 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือวิจัยประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบก่อน – หลังเรียน และแบบประเมินผลการเขียนแผนที่ความคิด (mind map) แบบแผนการวิจัยที่ใช้เป็นแบบ one group pretest – posttest design และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติที (one sample t–test) ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน (p < .05) และมีทักษะในการเขียนแผนที่ความคิดอยู่ในระดับดี
คำสำคัญ: แผนที่ความคิด การพัฒนาความรู้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
 
Abstract
The aims of this study were to develop learning outcome with mind map and study the mind map writing practice. The participants were 39 Mattayomsuksa V students in Watsungwej School, and were selected by purposive selection technique. Data collections using the students’ achievement test and the mind map writing practice assessment form were conducted the knowledge assessment. The results showed that the students’ achievement after learning with mind map was significantly higher than those before learning (p < .05), and the mind map writing practice was shown as good level.
Keywords: Mind map, Enhancing learning outcome, Learning achievement

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)

References

กรมวิชาการ. (2551). คู่มือการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์-การรับส่งสินค้าและผลิตภัณฑ์.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กิ่งกาญจน์ คำวงค์ปิน. (2547). ผลการพัฒนาความสามารถด้านการคิดเชิงวิเคราะห์และการคิดเชิงสังเคราะห์ที่แสดงได้โดยแผนที่ความคิด. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงใหม่เขต 4.

โครงการ PISA ประเทศไทย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2554). ผลการประเมิน PISA 2009 การอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: อรุณการพิมพ์.

ดุษิต พรหมชนะ. (2546). การใช้กระบวนการสร้างแผนผังความคิดเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดและการสร้างองค์ความรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหา-วิทยาลัยเชียงใหม่.

นิคม พงษ์ประเสริฐ. (2544). ผลของการใช้ผังมโนมติสัมพันธ์ในการสรุปบทเรียน วิชาฟิสิกส์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นิตยา อัจฉริยานุกุล. (2550). การพัฒนารูปแบบการสอนโดยใช้แผนที่ความคิดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยสำหรับนักเรียนช่วงชั้นปีที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

ยุพิน เกตุดี. (2550). ผลของการใช้กิจกรรมการสร้างแผนที่ความคิดที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาชีววิทยาของนักเรียนช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรและการสอน). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.

สัมฤทธิ์ บุญนิยม. (2548). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียน เรื่องพืชและสัตว์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่สอนด้วยวิธีการสอนโดยใช้แผนที่ความคิด กับ วิธีการสอนตามคู่มือครู. วิทยานิพนธ์ (หลักสูตรและการสอน). นครปฐม: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สุวิทย์ มูลคำ. (2547). กลยุทธ์การสอนเชิงมโนทัศน์. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.

อังศนา เลิศศรี. (2551). การใช้แผนที่ความคิดเพื่อเสริมสร้างทักษะการสรุปความคิดรวบยอดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดดอนชัย จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ (วิชาการสอนสังคม).เชียงใหม่: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อัฐวุฒิ คำแสน และสุรศักดิ์ ละลอกน้ำ. (2554). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยการใช้ชุดกิจกรรมปรับปรุงคุณาพดินและการเปลี่ยนแปลงของดินสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ 2(1): 11–21.

เอียน สมิธ และอนงค์ วิเศษสุวรรณ์. (2550). การจัดการเรียน- รู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 18(2): 1–10.

Martin, S. G. (2003). Mind mapping in the middle school science classroom. Illinois USA: Wheaton College.

Ponanan, T. (1997). Mind map and education, and knowledge management. Bangkok: Kwankao.