การศึกษาผลกระทบการเข้าสู่สังคมสูงวัยต่ออัตราการเจริญเติบโตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศไทย (A STUDY OF THE IMPACTS OF AGING SOCIETY ON GROSS DOMESTIC PRODUCT GROWTH IN THAILAND)

Authors

  • ณัฐญา ประไพพานิช คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • จิตสุภา เหลืองอร่าม คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • พัทร์ธีรา โมขศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • อัยรีน ผิวเหลือง คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

Abstract

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเชิงประจักษ์และมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ผลกระทบของการเข้าสู่สังคมสูงวัยในประเทศไทยต่ออัตราการเจริญเติบโตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิแบบอนุกรมเวลาตั้งแต่ไตรมาสที่ 1 ปี 2543 จนถึงไตรมาสที่ 4 ปี 2562 (n = 80) คณะผู้วิจัยใช้อัตราการเจริญเติบโตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศประเทศไทยเป็นตัวแปรตามและใช้ปัจจัยทางเศรษฐกิจ 5 ตัวแปร เป็นตัวแปรอิสระซึ่งตัวแปรทุกตัวจะอยู่ในรูปอัตราการเจริญเติบโต ได้แก่ การบริโภค (C) การลงทุนของภาคเอกชน (I) รายจ่ายของรัฐบาล (G) การส่งออกสุทธิ (NX) และอัตราส่วนพึ่งพิงของผู้สูงอายุต่อจำนวนกำลังแรงงาน งานวิจัยนี้ใช้วิธีสมการถดถอยกำลังสองน้อยที่สุด (OLS) และใช้อัตราส่วนพึ่งพิงของผู้สูงอายุต่อจำนวนกำลังแรงงานเป็นตัวแทนของการเข้าสู่สังคมสูงวัย ผลการศึกษาพบว่า อัตราการเจริญเติบโตของการบริโภค (C) การลงทุนของภาคเอกชน (I) รายจ่ายของรัฐบาล (G) และการส่งออกสุทธิ (NX) ส่งผลบวกต่ออัตราการเจริญเติบโตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในขณะที่อัตราการเจริญเติบโตของอัตราส่วนพึ่งพิงของผู้สูงอายุส่งผลลบต่ออัตราการเจริญเติบโตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นั่นคือการเพิ่มขึ้นของประชากรสูงอายุเป็นปัจจัยลบที่ส่งผลกระทบต่อการเจริญเติบโตของประเทศ ดังนั้นเพื่อเตรียมความพร้อมและรับมือกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างประชากรที่เกิดขึ้น ประเทศไทยจึงควรดำเนินนโยบายเพิ่มกำลังแรงงานในระบบเศรษฐกิจโดยการวางแผนนโยบายการจ้างงานที่เหมาะสมสำหรับประชากรสูงอายุเพื่อเศรษฐกิจไทยจะได้ก้าวสู่สังคมสูงวัยอย่างยั่งยืน คำสำคัญ: สังคมสูงวัย  ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ  อัตราส่วนพึ่งพิงของผู้สูงอายุ  ข้อมูลอนุกรมเวลา This research is an empirical study, and the objective is to study and analyze the impacts of aging society on Thailand’s GDP growth by applying time series data from Q1 in 2000 to Q4 in 2019 (n=80). The authors use Thailand’s GDP growth as a dependent variable and 5 economic determinants as independent variables. Each variable is in the form of the rate of growth, which are consumption (C), investment (I), government spending (G), net export (NX), and old-age dependency ratio. The study uses the OLS regression model and applies the old-age dependency ratio as a proxy for the aging society. The results show that consumption (C), investment (I), government spending (G), and net export (NX) in the form of the rate of growth have a significant positive effect on GDP growth. However, the growth rate of the old-age dependency ratio has a significant negative effect on GDP growth. That is, the increase in the aging population is one of the negative factors affecting the country's growth. Therefore, in order to prepare and cope with the changing situation of the population structure that occurs, Thailand should implement a policy to increase the labor force in the economy by planning appropriate employment policies for the elderly population in order to move Thai economy towards a sustainable aging society. Keywords: Aging Society, GDP, Old-Age Dependency Ratio, Time Series Data

Downloads

Download data is not yet available.

References

Shimasawa Manabu, and Hosoyama Hidetoshi. (2004). Economic Implications of An Aging Population: The Case of Five Asian Economies. Tokyo: Economic and Social Research Institute (ESRI).

สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2563). สถิติประชากรศาสตร์ประชากรและเคหะ. สืบค้นเมื่อ 3 สิงหาคม 2563, จาก http://statbbi.nso.go.th/staticreport/

page/sector/th/01.aspx

กรมเศรษฐกิจและสังคมแห่งสหประชาติ. (2563). ประชากรโลกสูงวัย. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2563, จาก https://www.un.org/en/development/

desa/population/publications/pdf/ageing/WorldPopulationAgeing2019-Highlights.pdf

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2563). รายจ่ายของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ. สืบค้นเมื่อ 3 สิงหาคม 2563, จาก https://www.nesdc.go.th/ewt_dl_link.php?nid=5174&filename=QGDP_report

Albuquerque, Lopes. (2010, October). Economic impacts of ageing: an inter-industry approach. International Journal of Social Economics, 12, 970-986. Retrieved November 15, 2019, from https://core.ac.uk/download/pdf/6532498.pdf

Bloom, E. David; Canning, David; Fink, Günther. (2010, February). Implications of population ageing for economic growth. Oxford Review of Economic Policy, 26, 583-612. Retrieved December 14, 2019, from https://www.nber.org/papers/w16705

Walder, Doring. (2012, August). The effect of population ageing on private consumption: a simulation for Austria based on household data up to 2050. Springer Link, 2, 63-80. Retrieved December 14, 2019, from https://ideas.repec.org/a/spr/eurase/

v2y2012i1p63-80.html

Broniatowska, Paulina (2017, October). Population Ageing and Inflation. Springer Link, 12(1), 179-193. Retrieved December 27, 2019, from https://doi.org/10.1007/s12062-017-9209-z

Lance, Taylor. (1991). Income distribution, inflation, and growth: Lectures on structuralist macroeconomic theory. London: MIT press.

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2557). สังคมสูงวัย: นัยต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ. สืบค้นเมื่อ 15 กันยายน 2563, จาก http://www.stou.ac.th/

stouonline/lom/data/sec/Lom12/05-01.html

ธนาภัทร์ เรืองศรี, และณรงค์ชัย ฐิตินันท์พงศ์. (2563). สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจสำหรับการเงิน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สืบค้นเมื่อ 2 ตุลาคม 2563, จาก http://fin.bus.ku.ac.th/135512%20Economic%20Enviroment%20for%20Finance/Lecture%20Slides/Introduction%20and%20%20

GDP.pdf

ทัดไท กีรติพงค์ไพบูลย์. (2555). Population Ageing: Changes in Household Composition and Economic Behaviour in Thailand. London: SOAS, University of London.

ฉัตรชัย จูสนิท. (2553). การบริโภคและการลงทุนภาคเอกชนของ SMEs. ใน เอกสารรายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมปี 2552 และแนวโน้มปี 2553. หน้า 3-48. กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม

ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการสำหรับการบริหารงาน. (2562). การใช้จ่ายของรัฐบาล ภาษีและผลทางนโยบาย. ใน เอกสารวิชาการคณะเกษตรศาสตร์. หน้า 1-6. เชียงใหม่: คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ศศิเพ็ญ ภูวพานิช. (2553, กรกฎาคม). ผลกระทบของสังคมผู้สูงอายุต่อระบบเศรษฐกิจไทย. วารสารโครงการกิจกรรมการเชื่อมโยงงานวิจัยกับภาคนโยบาย, 1(10), 1-8.

Mohamed, Mabrouki. (2017). Impact of export and import on economic growth: new evidence from Panama. Dissertation, Ph.D. Tunisia: Sayef Bakari, Mohamed Mabrouki University of Tunis El Manar.

Feifei Wu, Hongna Yang, Bogao Yan. (2021). Old, not yet rich? The impact of population aging on export upgrading in developing countries. Science Direct. Retrieved September 3, 2021, from https://www.sciencedirect.com/science/article/abs/pii/S1043951 X21001255

Huang, H. Wen; Lin, J. Yen, and Lee, F. Hsien. (2019). Impact of Population and Workforce Aging on Economic Growth.

Dissertation, Ph.D. (Science and Technology). Taichung: National Taichung University of Science and Technology.

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2563). การสำรวจกำลังแรงงาน. ธนาคารแห่งประเทศไทย. ใน รายงานภาวการณ์ทำงานของประชากร จำแนกตามประเภทธุรกิจ. หน้า 1. กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ

สมประวิณ มันประเสริฐ. (2559, เมษายน). เศรษฐกิจไทยในสังคมชราภาพ : บริบทใหม่ต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจและความเหลื่อมล้ำทางรายได้. สืบค้นเมื่อ 9 กันยายน 2563, จาก https://www.pier.or.th/abridged/2016/09/

ธนาคารโลก. (2563). เงินออมขั้นต้นของประเทศไทย (% ของ GDP). ข้อมูลบัญชีธนาคารโลกและไฟล์ข้อมูลบัญชีแห่งชาติของ OECD. สืบค้นเมื่อ 14 สิงหาคม 2563, จาก https://data.worldbank.org/indicator/NY.GNS.ICTR.ZS?locations=TH

กระทรวงพาณิชย์. (2563). ดัชนีราคาผู้บริโภคของประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม 2563, จาก http://www.indexpr.moc.go.th/price_present/

cpi/stat/test/select_cpig_region.html?table_name=

ฐานข้อมูลสถิติโลกและภูมิภาค Knoema. (2562). อัตราส่วนประชากรอายุ 65+ ต่อประชากร 15-64 ปีในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 8 สิงหาคม 2563, จาก https://knoema.com/atlas/Thailand/topics/Demographics/Dependency-Ratios/Old-age-dependency-ratio-65-per-15-64

ศุทธิดา ชวนวัน. (2562, ตุลาคม-พฤศจิกายน). ประชากรและการพัฒนา. วารสารกรมกิจการผู้สูงอายุ สังคม สิ่งแวดล้อม สำคัญอย่างไรต่อผู้สูงอายุ, 40(1), 1-23.

ศิวลาภ สุขไพบูลย์วัฒน์. (2560, มกราคม-มิถุนายน). บทบาทของผู้สูงอายุต่อความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในประเทศไทย. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 9(17), 176-191. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2563, จาก https://so04.tci-thaijo.org/index.php/swurd/

article/view/92655

วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์. (2556). Social and economic aspects of the elderly in Thailand. วิทยานิพนธ์ปริญญา (เศรษฐศาสตร์นโยบายสาธารณะ). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น

กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2563, พฤศจิกายน). นโยบายการขับเคลื่อนงานกรมกิจการสูงอายุปีงบประมาณ 2564. กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. สืบค้นเมื่อ 5 กันยายน 2564, จาก https://www.dop.go.th/th/laws/1/33/826k

ชูเกียรติ มุทธากาญจน. (2559, มกราคม-มิถุนายน). สังคมผู้สูงอายุกับการเตรียมเผชิญหน้า. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้, 9(1), 1-8.

ทองเทพ กาญจนา. (2563, 19 ตุลาคม). ก้าวย่างของประเทศไทยสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์แบบ. สืบค้นเมื่อ 10 กันยายน 2563, จาก https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=30476

ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์. (2563). การกระจุกตัวของตลาดที่ดิน ความเหลื่อมล้ำทางการคลังและนโยบายภาษี. วารสารโครงการกิจกรรมการเชื่อมโยงงานวิจัยกับภาคนโยบาย, 10(9), 1-8.

ธนาภัทร์ เรืองศรี, และณรงค์ชัย ฐิตินันทพ์งศ์. (2563). สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจสำหรับการเงิน. ภาวะเศรษฐกิจมหภาคและประมาณการรายได้ของรัฐบาลปีงบประมาณ พ.ศ. 2563. สืบค้นเมื่อ 12 ตุลาคม 2563, จาก http://fin.bus.ku.ac.th/135512%20Economic%20Environment%20for%20

Finance/Lecture%20Slides/Introduction%20and%20%20GDP.pdf

ฐานิดา อารยะเวชกิจ. (2558). นโยบายเพื่อรองรับสังคมสูงวัย เน้นแค่ผู้สูงอายุยังไม่พอ. ธนาคารแห่งประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 8 กันยายน 2563, จาก https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/DocLib_/Article6_12_59.pdf

Downloads

Published

2022-12-29

How to Cite

ประไพพานิช ณ., เหลืองอร่าม จ., โมขศักดิ์ พ., & ผิวเหลือง อ. (2022). การศึกษาผลกระทบการเข้าสู่สังคมสูงวัยต่ออัตราการเจริญเติบโตผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศไทย (A STUDY OF THE IMPACTS OF AGING SOCIETY ON GROSS DOMESTIC PRODUCT GROWTH IN THAILAND). วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 14(28, July-December), 28–43. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/swurd/article/view/15039