องค์ประกอบความต้องการจำเป็นพื้นฐานที่พึงประสงค์ของผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร (COMPONENTS OF BASIC NEED OF MEDICAL OFFICE CLUB ELDERLY IN BANGKOK)
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบความต้องการจำเป็นพื้นฐานที่พึงประสงค์ของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ และลำดับขั้นความมีอิทธิพลของความต้องการจำเป็นพื้นฐานสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างของการวิจัย ได้แก่ ผู้สูงอายุในสังกัดชมรมสังกัดสำนักการแพทย์ จำนวน 226 คน ผู้วิจัยใช้สถิติการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ (EFA) จากการวิเคราะห์การสกัดหมุนแกน 2 ขั้นตอน โดยใช้วิธีหมุนแกนวาริแมกซ์ และโพรแมกซ์ เพื่อนำน้ำหนักค่าองค์ประกอบของแต่ละตัวแปรมาพิจารณากับเกณฑ์ที่กำหนดไว้ของแต่ละองค์ประกอบโดยการเรียงลำดับค่าไอเกนที่มีค่ามากกว่า 1 โดยโปรแกรม AMOS ผลการศึกษาพบว่า สามารถจัดกลุ่มองค์ประกอบความต้องการพื้นฐานของผู้สูงอายุในชมรมสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ได้ทั้งหมด 6 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบความต้องการการแสวงหาสิ่งใหม่ (Explore) องค์ประกอบด้านความต้องการด้านสุขอนามัย (HyG) องค์ประกอบด้านความต้องการทางด้านอารมณ์และจิตใจ (Emo) องค์ประกอบด้านความต้องการมีส่วนร่วมและการเคารพนับถือ (Resp) องค์ประกอบด้านความต้องการความช่วยเหลือด้านพยาบาล (First-Aid) และองค์ประกอบด้านความต้องการรายได้ (Income) และพบว่าองค์ประกอบที่ผู้สูงอายุต้องการมากที่สุดจากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ คือ ผู้สูงอายุมีความต้องการการแสวงหาสิ่งใหม่ และสามารถนำมาเป็นข้อเสนอแนะให้แก่หน่วยงาน เน้นให้ความสำคัญต่อความต้องการที่แท้จริงของผู้สูงอายุ เช่น การแสวงหาสิ่งใหม่ให้ผู้สูงอายุโดยจัดให้สร้างนวัตกรผู้สูงอายุ เนื่องจากองค์ความรู้ของผู้สูงอายุเป็นองค์ความรู้ที่มีคุณค่า ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่เกิดจากศาสตร์ที่แตกต่างกันแต่ละบุคคลอีกทั้งเป็นองค์ความรู้ที่เกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ด้านการทำงานที่ผ่านมาในอดีต คำสำคัญ: ความต้องการพื้นฐาน องค์ประกอบ ผู้สูงอายุ This research aim to study the components of basic need of medical office club and hierarchy of influence of basic necessities of elderly in Bangkok. This research was the quantitative research, using exploratory Factor analysis statistics (EFA)from rotating Varimax and Promax methods. The samples were collected from the medical office club of elderly in Bangkok. Analytics of this study to take the component weight of variables into consideration with the specified criteria for each element by ordering Eigen value greater than 1, and using confirmation element analysis (EFA) statistics by AMOS program. The results showed that the significant basic elements of the elderly were comprised 6 components, and all components could account for 60.163% of cumulative variance. the elderly needs the pursuit of new things (Explore) that it was ranked as the most significant. Secondly, was the hygiene requirement (HyG)., The third, was the emotional and psychological (Emo). The fourth, was the participation and respect (Resp. The fifth, was the nursing assistance (First-Aid). Finally, was income need (Income). The results of using the exploratory factor analysis (EFA) found that accepted 6 elements have completely a significant statistical qualification for every element. The findings of this study can applied to develop the project for elderly to seeking and supporting the elderly, such as creating innovators, creating value and creating government policy for the elderly. Keywords: Basic Need, Components, ElderlyDownloads
References
World Health Organization. (2010). Definition of an Older or Elderly Person. Retrieved Jan 4, 2021, from http://www.who.int/
healthinfo/survey/ageingdefnolder/en
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2554). สำมะโนประชากรและเคหะ พ.ศ. 2553. สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2563, จาก http://popcensus.nso.go.th/file/
popcensus-10-01-56-T.pdf
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2560). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย 2559. นครปฐม: พริ้นเทอรี่.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2553). รายงานการสังเคราะห์ระบบการดูแลผู้สูงอายุในระยะยาวสำหรับประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ที คิว พี.
กาญจนา พิบูลย์, พวงทอง อินใจ, มยุรี พิทักษ์ศิลป์, และพิสิษฐ์ พิริยาพรรณ (2559, กรกฎาคม-ธันวาคม). ความต้องการในการจัดบริการการดูแลผู้สูงอายุแบบไปกลับคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา, 11(2), 45-52.
อาภรณ์ ชีวะเกรียงไกร. (2560). ผลกระทบของสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย. กรุงเทพธุรกิจ. สืบค้นจาก http:/www.bangkokbiznews.com/
blog/detail
พัชรี เขียวสะอาด. (2550). ปัญหาและความต้องการด้านการส่งเสริมสุขภาพและสังคมของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองศรีราชาจังหวัดชลบุรี. รัฐประศาสนศาสตร์มหาบัณฑิต (การบริหารงานท้องถิ่น) วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา.
มัทยา ศรีพนา. (2557). การจัดสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุในประเทศไทย. ใน บทความวิชาการ. สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.
ฮับเส๊าะ น้อยทับทิม, อาฟาส หะยีอาบู, และสุวิมล แซ่ก่อง. (2560). ความต้องการสวัสดิการสังคมของผู้สูงอายุ กรณีศึกษา: องค์การบริหารส่วนตำบลบาตง อำเภอรือเสาะ จังหวัดนราธิวาส. ใน การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ครั้งที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. หน้า 1256-1261.
หมัดเฟาซี รูบามา, และกฤษดา มงคลศรี. (2560). คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา. ใน การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ครั้งที่ 9 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม. หน้า 1888-1894.
Maslow, A. H. (1970). A Theory of Human Motivation. Cincinnati: South-Western Building Company.
ธมนวรรณ สุวรรณโฮม. (2555). การศึกษาวิถีผู้สูงอายุในเขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (นวัตกรรมหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้). มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2559). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย 2559. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.
ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2549). จิตวิทยาพัฒนาการชีวิตทุกช่วงวัย วัยรุ่น-วัยสูงอายุ เล่ม 2. (พิมพ์ครั้งที่ 9), กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
มาสริน ศุกลปักษ์, และกรัณฑรัตน์ บุญช่วยธนาสิทธิ์. (2560, กรกฎาคม-ธันวาคม). องค์ประกอบด้านสุขภาพตามแนวคิดสภาวะพฤฒพลังของผู้สูงอายุ. วารสารทางวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ, 11(ฉบับพิเศษ), 53-63.
คณะกรรมการส่งเสริมและประสานงานผู้สูงอายุแห่งชาติ. (2545). แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2545-2564). กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.
Siritarungsri, B., Soranastaporn, S., Surachet, M., Francis, K., and Mills, J. (2013). Strategies for Successful Ageing Living Alone. Journalism and Mass Communication, 5(2), 87-97.
Japan Marketing Report. (2019). Marketing for Elderly. Mizuho Corporate Bank. Retrieved December 20, 2019, from https://www.mizuhobank.co.jp/corporate/bizinfo/industry/sangyou/pdf/1039_03_03.pdf
Srisupraolan, P., and Aussarus, N. (2010). The Opening of The Health Labor Market. Chulalongkorn Business Review, 33(2), 17-39.
ดำรงศักดิ์ จันโททัย. (2563, มกราคม-มิถุนายน). บทเรียนการจัดการสังคมผู้สูงอายุจากประเทศญี่ปุ่น. วารสารนิติรัฐกิจและสังคมศาสตร์, 4(1), 159-180.
Piboon, K. Piriyapun, P. Pitaksil, M., and Inchai, P. (2014). Elderly Day Care Model in Burapha University Hospital. Journal of Public Health Burapha University, 11(2), 44-52.
Rubama, M., Waradisai, S., and BoonChot, J. (2017). Quality of Life of Elderly in Klonglah Sub-District. Khlong Hoi Khong District Songkhla Province. In Nakhonpathom Rajabhat University The 9th National Academic Conference. pp. 1888-1894.
Srisupraolan, P., and Aussarus, N. (2010). The Opening of The Health Labor Market. Chulalongkorn Business Review, 33(2), 17-39.
Hair, J. F., Black, W., Babin, B., Anderson, R., and Tatham, R. (2010). Multivariate Data Analysis. 6th edition. Pearson International Edition.
Polit, D. F., and Beck, C. T. (2008). Nursing Research: Generating and Assessing Evidence For Nursingpractice. 8th Edition. Lippincott Williams & Wilkins. Philadelphia, Pa.
Nunnally J. C. (1978). Psychometric Theory. 2nd ed. New York: McGraw-Hill., pp. 245-246.
Hair, J. F., Black, W., Babin, B., Anderson, R., and Tatham, R. (2013). Multivariate Data Analysis. 7th edition. Pearson International Edition.
Ogawa, N., and Matsukura, R. (2001). Aging In Japan: The Health and Wealth of Older Persons. Retrieved January 4, 2021, from http://www.un.org/esa/population/meetings/Proceedings_EGM_Mex_2005/ogawa.pdf
กรมกิจการผู้สูงอายุ. (2559). สถานการณ์ผู้สูงอายุ ปี 2559. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม 2562, จาก http://www.dop.go.th/th/know/2/54
วันวิสาข์ โชคพรหมอนันต์, และวิโรจน์ เจษฎาลักษณ์. (2558, พฤษภาคม-สิงหาคม). คุณลักษณะของผู้ประกอบการที่มีต่อความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการร้านค้าในตลาดน้ำดอนหวาย จังหวัดนครปฐม. Veridian E-Journal, Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and Arts),
(2), 967-988.
World Health Organization. (2007). Global Age-Friendly Cities: A Guide. Retrieved January 14, 2021, from https://extranet.who.int/
agefriendlyworld/wp-content/uploads/2014/06/WHO-Global-Age-friendly-Cities-Guide.pdf?ua=1
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2022 วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์)
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.