ไกลโคซิลทรานสเฟอร์เรส แฟมิลี่ที่ 1: ความหลากหลายของหน้าที่ในพืช (Family 1 Glycosyltransferases: Funtional Diversity in Plants)
Keywords:
พืช ไกลโคซิลทรานสเฟอร์เรส ความหลากหลายของหน้าที่ Plant, Glycosyltransferase, Functional Diversity, UGTAbstract
ไกลโคซิลทรานสเฟอร์เรส (glycosyltransferases, GTs) เป็นเอนไซม์ที่พบได้ทั่วไปในสิ่งมีชีวิต ทำหน้าที่เร่งปฏิกิริยาการย้ายหมู่น้ำตาล GTs ถูกแบ่งออกเป็น 94 แฟมิลี่ ในอาณาจักรพืชพบว่า แฟมิลี่ที่ 1 (GT1) หรือที่เรียกว่า UDP-glycosyltransferase (UGT) เป็นแฟมิลี่ที่ใหญ่ที่สุด UGT ทำหน้าที่ย้ายหมู่น้ำตาลจาก UDP-sugar ไปยังโมเลกุลตัวรับต่างๆ เช่น ฮอร์โมน (hormone) สารกลุ่มฟีนิลโพรพานอยด์ (phenylpropanoid) ซาโปนิน (saponin) และสารแปลกปลอม (xenobiotic) ทำให้สารเหล่านี้มีความเสถียรมากขึ้น เพิ่มสมบัติการละลายน้ำ หรือลดความเป็นพิษลง ในบทความนี้จะกล่าวถึงการศึกษาคุณลักษณะของ UGT ในพืช และความหลากหลายของหน้าที่ของ UGT ที่มีความสำคัญต่อขบวนการต่างๆ ในพืช นอกจากนี้จะกล่าวถึงการนำความรู้ที่ได้มาใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆ เพื่อให้การศึกษาคุณลักษณะของ UGT ที่ยังไม่ได้ถูกระบุหน้าที่ในพืช ได้รับความสนใจเพิ่มมากขึ้นGlycosyltransferases (GTs) is an enzyme found in many living organisms. They catalyze the transfer of sugar moiety and can be divided into 94 families. In the plant kingdom, family 1 GT (GT1), so called UDP-glycosyltransferases (UGTs) is the largest family. These UGTs transfer a glycosyl moiety from UDP-sugars to a wide range of acceptor molecules such as hormones, phenylpropanoids, saponins, and xenobiotics. As a result, these molecules increase their stability and water solubility, or decrease their toxicity. In this review article, the characterization and functional diversity of UGTs involved in several important mechanisms are discussed. In addition, several potential applications are discussed to call attention to the characterization of unidentified plant UGTs.Downloads
Download data is not yet available.
Downloads
Published
2012-12-29
How to Cite
ศิริกันทรมาศ ศ. (2012). ไกลโคซิลทรานสเฟอร์เรส แฟมิลี่ที่ 1: ความหลากหลายของหน้าที่ในพืช (Family 1 Glycosyltransferases: Funtional Diversity in Plants). Science Essence Journal, 28(2). Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/sej/article/view/2935
Issue
Section
บทความวิชาการ