PENCIL Model: การพัฒนารูปแบบการออกแบบหนังสือนิทานอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้การเล่าเรื่องแบบดิจิทัลในสภาพแวดล้อมเกมมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และความสุขในการเรียนสำหรับนักเรียนประถมศึกษาตอนปลาย (PENCIL Model: Development of Fairy Tales Electronic Bo)

Main Article Content

พิมพ์ประภา พาลพ่าย
ประกอบ กรณีกิจ
จินตวีร์ คล้ายสังข์

Abstract

บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาร่างรูปแบบการออกแบบหนังสือนิทานอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้การเล่าเรื่องแบบดิจิทัลในสภาพแวดล้อมเกมมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และความสุขในการเรียน หรือเรียกว่า รูปแบบ PENCIL ใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน งานวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่  แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมิน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 คน ซึ่งเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีวิเคราะห์เนื้อหา และ ผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อ จำนวน 5 คน ซึ่งเก็บข้อมูลจากแบบประเมินและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย ผลการวิจัยพบว่า การออกแบบหนังสือนิทานอิเล็กทรอนิกส์รูปแบบ PENCIL ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การเล่าเรื่องแบบดิจิทัล 2) สภาพแวดล้อมเกมมิฟิเคชัน 3) บทบาทผู้เรียนและผู้สอน 4) ทรัพยากรการเรียนรู้ และ 5) การวัดและประเมินผล ขั้นตอนการพัฒนามี 6 ขั้นตอน (PENCIL Model)  ได้แก่ 1) การวางแผนและระดมสมอง 2) การสืบค้นข้อมูลและสร้างสตอรี่บอร์ด 3) การสร้างเรื่องเล่าจากการเล่าเรื่อง 4) การตรวจทานและสะท้อนคิดร่วมกัน 5) การเผยแพร่บนสื่อสังคม 6) การประเมินผลการเรียนรู้ ผลการประเมินรูปแบบ PENCIL พบว่า มีความเหมาะสมในการใช้งานอยู่ในระดับมากที่สุด Abstract The objective of this research was to develop the design model of fairy tales electronic book by digital storytelling in gamification environment to enhance creative thinking and happiness in learning which is called "PENCIL Model" by using the mixed method research. This research was a part of the dissertation title, which used the data collecting instruments such as interviews and evaluated form. The populations of a sampling group of this research were seven experts who have collected the data through interviews and analyzing the data by using the contents, and five experts whose data were received through evaluated forms and analyzing the data by using the mean value. The research result found that the fairy tales electronic book design based on PENCIL Model consists of 5 components; 1) digital storytelling, 2) gamification environment, 3) role of learner and teacher, 4) learning resource, and 5) measurement and evaluation, which contained by 6 processes (PENCIL Model) 1) Planning a Story Map and Brainstorming 2) Exploring Resources and Making Storyboard 3) Narrative Storytelling 4) Checking the Story and Reflecting 5) Interactive Social Media Posting and 6) Learning Evaluation. The PENCIL Model certification model assessment found that this model was the most appropriate to use as the trial.

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

How to Cite
พาลพ่าย พ., กรณีกิจ ป., & คล้ายสังข์ จ. (2019). PENCIL Model: การพัฒนารูปแบบการออกแบบหนังสือนิทานอิเล็กทรอนิกส์โดยใช้การเล่าเรื่องแบบดิจิทัลในสภาพแวดล้อมเกมมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และความสุขในการเรียนสำหรับนักเรียนประถมศึกษาตอนปลาย (PENCIL Model: Development of Fairy Tales Electronic Bo). บรรณศาสตร์ มศว, 12(1), 30–45. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jlis/article/view/11527
Section
Research Articles