ผลของสาหร่าย Scenedesmus sp. ต่อการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ส่งผลต่อการผลิตไขมัน (THE EFFECT OF SCENEDESMUS SP. ON REDUCING CARBON DIOXIDE AFFECTING LIPID PRODUCTIVITY)

Authors

  • ครรชิต เงินคำคง Rajamagala University of Technology.
  • ลดาวัลย์ วัฒนะจีระ Rajamagala University of Technology.
  • นันท์นภัส เงินคำคง Chiang Mai University.
  • บัญจรัตน์ โจลานันท์ Rajamagala University of Technology.

Abstract

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของสาหร่าย Scenedesmus sp. ต่อการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ส่งผลต่อการผลิตไขมัน โดยทำการเพาะเลี้ยงสาหร่าย Scenedesmus sp. ในอาหารเหลวสูตรเจเอ็มในถังไบโอรีแอคเตอร์ ปริมาตร 8 ลิตร โดยให้ความเข้มแสงที่ 4,000 ลักซ์ ให้อากาศตลอด 24 ชั่วโมง ในชุดควบคุม โดยชุดการทดลองทำการเติมก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ร้อยละ 99 ที่อัตราการไหล 0.05, 0.10 และ 0.15 vvm ตามลำดับ หลังจากการเพาะเลี้ยงเป็นเวลา 20 วัน ผลการศึกษาพบว่า ที่อัตราการไหล 0.05 vvm การเจริญของสาหร่ายและประสิทธิภาพในการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ดีกว่าที่อัตราการไหล 0.10 และ 0.15 vvm โดยมีค่าอัตราการเจริญเติบโตจำเพาะสูงสุด 0.45±0.09 ต่อวัน มีค่าความหนาแน่นของเซลล์สาหร่ายสูงสุดถึง 0.72±0.04  มวลชีวภาพของสาหร่ายสูงสุด 2,283.33±125.83 มิลลิกรัมต่อลิตร และปริมาณไขมันเฉลี่ย 10.88±0.68 ร้อยละต่อน้ำหนักแห้ง ประสิทธิภาพในการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สูงสุดร้อยละ 97.90±1.15คำสำคัญ: สาหร่าย  ซีนีเดสมัส  การลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์  การผลิตไขมันThe objective of this research is to study the effect of Scenedesmus sp. on reducing carbon dioxide affecting lipid productivity. Scenedesmus sp., was cultivated in a liquid formula (8 liters) in an bioreactor using Jaworski's medium, under a 24 hour light intensity of 4,000 lux and with aeration for control.  Through a series of  experiments to add carbon dioxide (99%) at a flow rate of  0.05, 0.10 and 0.15 vvm, for 20 days, results showed that at a flow rate of 0.05 vvm the growth of algae and reducing carbon dioxide efficiency were higher than those at the 0.10 and 0.15 vvm flow rates. Scenedesmus sp., with a maximum specific growth rate, OD560, algae biomass productivity was 0.45±0.09 d-1, 0.72±0.04, 2,283.33±125.83 mg.l-1. and the average lipid content was 10.88±0.68% by dry weight. The maximum reducing carbon dioxide efficiencies were 97.90±1.15%.Keywords: Algae, Scenedesmus sp., Reducing Carbon Dioxide, Lipid Productivity

Downloads

Download data is not yet available.

Author Biographies

ครรชิต เงินคำคง, Rajamagala University of Technology.

Department of Environmental Engineering, Faculty of Engineering, Rajamagala University of Technology.

ลดาวัลย์ วัฒนะจีระ, Rajamagala University of Technology.

Department of Environmental Engineering, Faculty of Engineering, Rajamagala University of Technology.

นันท์นภัส เงินคำคง, Chiang Mai University.

Department of Biotechnology, Faculty of Agro-Industy, Chiang Mai University.

บัญจรัตน์ โจลานันท์, Rajamagala University of Technology.

Department of Environmental Engineering, Faculty of Engineering, Rajamagala University of Technology.

Downloads

Published

2017-12-27

How to Cite

เงินคำคง ค., วัฒนะจีระ ล., เงินคำคง น., & โจลานันท์ บ. (2017). ผลของสาหร่าย Scenedesmus sp. ต่อการลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ส่งผลต่อการผลิตไขมัน (THE EFFECT OF SCENEDESMUS SP. ON REDUCING CARBON DIOXIDE AFFECTING LIPID PRODUCTIVITY). วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 9(18, July-December), 11–23. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/SWUJournal/article/view/9548