การพัฒนาอิฐทนไฟ 1,300 องศาเซลเซียสจากดินพื้นบ้าน (DEVELOPMENT REFRACTORY BRICK 1,300 DEGREES CELSIUS FROM LOCAL CLAY)
Abstract
การพัฒนาอิฐทนไฟ 1,300 องศาเซลเซียส จากดินพื้นบ้าน มีวัตถุประสงค์เพื่อทดลองหาส่วนผสมระหว่างดินพื้นบ้านอำเภอบางปะหัน ดินขาว ทรายและขี้เลื่อย กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากตารางสี่เหลี่ยม ศึกษาสมบัติทางกายภาพก่อนและหลังการเผาที่อุณหภูมิ 1,300 องศาเซลเซียส บรรยากาศ ออกซิเดชัน และทดลองขึ้นรูปอิฐทนไฟจากส่วนผสมเนื้อดินปั้นที่มีส่วนผสมเหมาะสมที่สุดผลการวิจัยพบว่า ส่วนผสมที่ 21 มีดินพื้นบ้านในปริมาณร้อยละ 20 ดินขาวในปริมาณร้อยละ 30 ทรายในปริมาณร้อยละ 30 และขี้เลื่อยในปริมาณร้อยละ 20 และส่วนผสมที่ 26 มีดินพื้นบ้านในปริมาณร้อยละ 10 ดินขาวในปริมาณร้อยละ 40 ทรายในปริมาณร้อยละ 40 และขี้เลื่อยในปริมาณร้อยละ 10 สามารถผลิตอิฐทนไฟได้คำสำคัญ: อิฐทนไฟ ดินพื้นบ้าน ดินขาว ทราย ขี้เลื่อยDevelopment Refractory Brick 1,300 Degrees Celsius from Local clay to study the mixtures between Local clay in Bangpahun, white clay Sand and Wood Sawdust. The experiment of this research used different sampling diagram from square diagram of 36 mixtures. The properties of physical qualifications have been studied before-after burning at 1,300 Degrees Celsius under an oxidation atmosphere and also the product test was formed of the best mixture.The compositions which contained no.21, 20 percents Local clay, 30 percents white clay, 30 percents Sand, 20 percents Wood Sawdust and no.26, 10 percents Local clay, 40 percents white clay, 40 percents Sand and 10 percents Wood Sawdust, the mixtures have potential for used as the Refractory Brick.Keywords: Refractory Brick, Local clay, White Clay, Sand, Wood SawdustDownloads
Download data is not yet available.
Downloads
Published
2012-09-21
How to Cite
Sathitpanawong, L., & Krajangyao, A. (2012). การพัฒนาอิฐทนไฟ 1,300 องศาเซลเซียสจากดินพื้นบ้าน (DEVELOPMENT REFRACTORY BRICK 1,300 DEGREES CELSIUS FROM LOCAL CLAY). วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 4(8, July-December), 112–121. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/SWUJournal/article/view/2393
Issue
Section
บทความวิชาการ