ความหนาแน่นและการกระจายพันธุ์ไผ่ในบริเวณอนุรักษ์สัตว์ป่า วัดไกลกังวล (เขาสารพัดดีศรีเจริญธรรม) อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท (DENSITY AND DISTRIBUTION OF BAMBOO IN THE WILDLIFE CONSERVATION AREA OF WAT KLAI KANG WON (KHAO SARAPUDDEE SRI CHAROENTHUM), HUNKA DISTRICT, CHAI NAT PROVINCE)

Authors

  • รัฐพล ศรประเสริฐ สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • อนงคณ์ หัมพานนท์ สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • นรินธร ดำหมาน สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • จรัลศรี ตาลทรัพย์ สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • ฮาซีมะห์ เจ๊ะเต็ง สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
  • สยาม อรุณศรีมรกต คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • ทนงศักดิ์ จงอนุรักษ์ สำนังานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  • พระอธิการสำรวม สิริภทโท วัดไกลกังวล (เขาสารพัดดีศรีเจริญธรรม) อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท
  • พระมนู ขนฺติธมฺโม วัดไกลกังวล (เขาสารพัดดีศรีเจริญธรรม) อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท

Abstract

ความหนาแน่นไผ่ในบริเวณอนุรักษ์สัตว์ป่า วัดไกลกังวล จำนวน 34 แปลง มีพื้นที่เท่ากับ 68 เฮกตาร์ หรือ 425 ไร่ พบกอไผ่ 5 ชนิด จำนวน 1,035 กอ เป็นไผ่รวก (Thyrsostachys siamensis) มากสุด รองลงมาคือ ไผ่ป่า (Bambusa bambos) ไผ่เลี้ยง (B. multiplex) ไผ่สีสุก (B. blumeana) และไผ่น้ำเต้า (B. ventricosa) จำนวน 865, 82, 60, 24 และ 4 กอ ตามลำดับ มีความหนาแน่นระหว่าง 15-22 กอต่อเฮกตาร์ โดยไผ่น้ำเต้ามีความหนาแน่นน้อยสุดเท่ากับ 0.06 กอต่อเฮกตาร์ ไผ่รวกมีความหนาแน่นมากสุดเท่ากับ 12.72 กอต่อเฮกตาร์ แปลงที่มีความหนาแน่นน้อยสุด คือแปลง 31 เท่ากับ 2.00 กอต่อเฮกตาร์ ความหนาแน่นมากสุด คือแปลง 11 เท่ากับ 46.00 กอต่อเฮกตาร์ จำนวนลำไผ่ 5 ชนิด เท่ากับ 46,624 ลำ เป็นไผ่รวกมากสุด รองลงมาคือ ไผ่สีสุก ไผ่ป่า ไผ่เลี้ยง และไผ่น้ำเต้าเท่ากับ 26,340 , 13,710 , 4,974 , 1,541 และ 59 ลำ ตามลำดับ มีความหนาแน่นเท่ากับ 685.64 ลำต่อเฮกตาร์ โดยไผ่น้ำเต้ามีความหนาแน่นน้อยสุดเท่ากับ 0.86 ลำต่อเฮกตาร์ ไผ่รวกมีความหนาแน่นมากสุดเท่ากับ 387.35 ลำต่อเฮกตาร์ การกระจายพันธุ์ไผ่ 5 ชนิด จำนวน 1,035 กอ ใน 34 แปลง แต่ละแปลงแบ่งเป็น 4 ส่วน พบว่าส่วน 2 มีการกระจายพันธุ์ไผ่มากสุด รองลงมาคือ ส่วน 3, 4, 1 เท่ากับ 307, 300, 227 และ 201 กอ ตามลำดับ โดยส่วน 2 เป็นไผ่รวก ไผ่ป่า ไผ่เลี้ยง ไผ่สีสุก และไผ่น้ำเต้าเท่ากับ 243, 46, 10, 4 และ 4 กอ ตามลำดับ คำสำคัญ: ความหนาแน่น  การกระจายพันธุ์  ไผ่  เขาสารพัดดีศรีเจริญธรรม The density of bamboo in the wildlife conservation area of Wat Klai Kang Won, the sample of 34 plots equal to 68 Hectares (425 Rais) found 5 species of bamboo of 1,035 clumps, the most were Phai Rual (Thyrsostachys siamensis), the second were Phai Pa (Bambusa bambos), Phai Leung (B. multiplex), Phai Si Suk (B. blumeana), Phai Num Tao (B. ventricosa) and the clumps were 865, 82, 60, 24 and 4 clumps respectively. The density was 15-22 clumps/Hectare. Phai Num Tao has the lowest density of 0.06 clumps/Hectare. Phai Rual has the highest density of 12.72 clumps/Hectare. The least dense plot No. 31 equal to 2.00 clumps/Hectare. The most density was plot No.11 equal to 46.00 clumps/Hectare. The total bamboo clum of 5 species were 46,624 clum which is the highest Phai Rual. Followed by Phai Si Suk, Phai Pa, Phai Leung and Phai Num Tao were 26,340, 13,710, 4,974, 1,541 and 59 clum respectively. The density was 685.64 clum/Hectare, whereas the lowest density was Phai Num Tao was 0.86 clum/Hectare. The highest density was Phai Rual 387.35 clum/Hectare. The distribution of 5 species were 1,035 clumps in 34 plots which divided into 4 parts found that part 2 had highest distribution follow by part 3, 4, 1 were 307, 300, 227 and 201 clumps respectively. The part 2 had Phai Rual, Phai Pa, Phai Leung, Phai Si Suk and Phai Num Tao has density of 243, 46, 10, 4 and 4 clumps respectively. Keywords: Density, Distribution, Bamboo, Khao Sarapuddee Sri Charoenthum

Downloads

Download data is not yet available.

References

Botanical Garden Organization. (2011). Plants Therdthai King. Chiang Mai Province: Wanidaa Printing.

Yangphathana, P., & Thaworn, R. (2014). Diversity and uses of bamboo in Thailand. In Bamboo and Livelihoods in Thailand: Local Knowledge and Management. Bangkok: Doo My Base Co., Ltd.

Upatathako, B., Thitilapho, Y., Methapirato, A., Suramanee, P., & Huttakosol, R. (2010). History of Wat Klai Kang Won (Khao Sarapuddee Sri Charoenthum). Lopburi Province: Krung Thai Printing.

Chemea, F., Rungsaveat, Kathong, S., Aichum, C., Sanboonyoung, W., Hambananda, A., Sornprasert, R., Aroonsrimorakot, S., Jonganurak, T., & Siripatho, S. (2013). The diversity and utilization of plants in the wildlife conservation area at Wat Klai Kang Won (Khao Sarapuddee Sri Charoenthum), Hunka District, Chainat Province. In The 6th Academic Conference of RSPG Academic Working Group “Thai Resources: Bring the Best Thai Thing to the World”. Kanchanaburi Province.

Rungsaveat, P., Aichum, C., Kathong, S., Chemea, F., Sanboonyoung, W., Hambananda, A., Sornprasert, R., Aroonsrimorakot, S., Jonganurak, T., & Siripatho, S. (2015). Diversity of Kafak Ma Muang (Dendrophthoe pentandra (L.) Miq.) and host plant in wildlife conservation area of Wat Klaikang Won (Khao Sarapuddee Sri Charoenthum), Hunka District, Chainat Province. Thai Journal of Forestry, 34(2), 73-83.

Sornprasert, R., Aroonsrimorakot, S., Hambananda, A., Jonganurak, T., Siripatho, S., Dommran, N., Tarnsap, J., & Cheteng, N. (2020). Diversity and ecology of bamboo in the wildlife conservation area of Wat Klai Kang Won (Khao Sarapuddee Sri Charoenthum), Hunka District, Chai Nat Province. In The 6th National and International Academic Conference “Rajabhat Research”. Bangkok:

Chandrakasem Rajabhat University.

Ohrnberger, D. (1999). The Bamboos of the World: Annotated Nomenclature and Literature of the Species and the Higher and Lower Taxa. Amsterdam: Elsevier Science BV.

Office of the Forest Herbarium. (2014). Tem Smitinand’s Thai Plant Names. Bangkok: Office of the Forest Herbarium, Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation.

Sungkaew, S., Teerawatananon, A., & Jindawong, K. (2011). Bamboo of Thailand. Bangkok: Baanlaesuan Printing.

Ruangchan, S., & Chutpong, C. (1985). Guidelines for determining bamboo quantity. In Bamboo seminar. Faculty of Forestry, Kasetsart University.

Henpithaksa, C. (2010). Growth performance of 5 bamboo varieties plantation at kanchanaburi research station. Agricultural Science Journal, 41(3/1), 461-464.

Protected Area Rehabilitation and Development Office. (2012). Thailand Bamboo Survey 2009. Bangkok: Department of National Parks, Wildlife and Plant Conservation.

Ruangchan, S. (1985). Survey for the capacity of bamboo in natural forests. In Seminar on Bamboo. Faculty of Forestry, Kasetsart University.

Downloads

Published

2022-06-29

How to Cite

ศรประเสริฐ ร., หัมพานนท์ อ., ดำหมาน น., ตาลทรัพย์ จ., เจ๊ะเต็ง ฮ., อรุณศรีมรกต ส., จงอนุรักษ์ ท., สิริภทโท พ., & ขนฺติธมฺโม พ. (2022). ความหนาแน่นและการกระจายพันธุ์ไผ่ในบริเวณอนุรักษ์สัตว์ป่า วัดไกลกังวล (เขาสารพัดดีศรีเจริญธรรม) อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท (DENSITY AND DISTRIBUTION OF BAMBOO IN THE WILDLIFE CONSERVATION AREA OF WAT KLAI KANG WON (KHAO SARAPUDDEE SRI CHAROENTHUM), HUNKA DISTRICT, CHAI NAT PROVINCE). วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 14(27, January-June), 131–143. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/SWUJournal/article/view/14515