ปริมาณสารประกอบฟีนอลทั้งหมดและปริมาณแกลลิกในผลมะขามป้อมสดและผลมะขามป้อมดองจากห้าแหล่งสายพันธุ์ (TOTAL PHENOLIC AND GALLIC ACID CONTENTS IN FRESH AND PRESERVED EMBLICA OFFICINALIS GAERTN FRUITS FROM FIVE DIFFERENT VARIETIES)

Authors

  • ขนิษฐา ชวนะนรเศรษฐ์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).
  • อมรรัษฏร์ พิกุลทอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).
  • มณีรัตน์ มีพลอย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).
  • ไมตรี มัณยานนท์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).
  • นลินาสน์ จิตร์พรหม สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).
  • ปนิดา บรรจงสินศิริ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).
  • ชลธิชา นิวาสประกฤติ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).
  • เนาวพันธุ์ หนูจุ้ย สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).

Abstract

ประเทศแถบเอเชียมีการใช้มะขามป้อมในทางยารักษาโรคหลายชนิดในยาแผนโบราณ ในประเทศไทยใช้เพื่อบำรุงสุขภาพและเป็นหนึ่งในตำรับยาอายุรเวทที่มีรายงานในการต้านมะเร็ง กรดแกลลิคเป็นสารสำคัญที่มีสรรพคุณต้านการเกิดออกซิเดชั่นที่ใช้แพร่หลายในอุตสาหกรรมเภสัช ดังนั้นงานศึกษานี้วัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปริมาณกรดแกลลิกและสารประกอบฟีนอลทั้งหมดในผลมะขามป้อมสดและดองด้วยสารละลายเกลือ 10% และ 15% จากห้าสายพันธุ์โดยมีระยะการเก็บรักษาสามเดือน มะขามป้อมห้าสายพันธุ์ ได้แก่ สายพันธุ์ KR-1, KR-2, KR-3, KR-4 and LTK-3 วิธีการวิจัยเริ่มจากการแกะเนื้อออกจากเมล็ดมะขามป้อม อบแห้งและบดละเอียดตามลำดับ จากนั้นสกัดผงมะขามป้อมโดยใช้เอธานอลที่มีความปริสุทธิ์สูงและวิเคราะห์ปริมาณกรดแกลลิกและสารประกอบฟีนอลทั้งหมดในสารสกัดด้วยเครื่องมือ HPLC ผลการวิเคราะห์พบว่าปริมาณกรดแกลลิกน้อยที่สุดในสายพันธุ์ KR-4 และมากที่สุดในสายพันธุ์ LTK-3 นอกจากนี้ปริมาณสารประกอบฟีนอลทั้งหมดเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ที่ 0 ถึงสัปดาห์ที่ 12 การวิจัยจะดำเนินการในทางด้านผลิตภัณฑ์อาหาร การศึกษาฤทธิ์ทางยาและเครื่องสำอางจากมะขามป้อมสายพันธุ์ LTK-3 ต่อไปคำสำคัญ: มะขามป้อม  วงศ์ยูฟอร์เบียซี  กรดแกลลิก  สารประกอบฟีนอลทั้งหมด  การวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือเฮชพีแอลซีEmblica officinalis Gaertn has been used in traditional medicine for treatment of various diseases in Asian countries. It has been recorded in Ayurvedic and traditional medicines in Thailand for health tonic and one of its recipe was recently reported on cancer treatment. Gallic acid, an active compound from E. officinalis fruit varaints, has revealed on research against oxidative diseases and used in pharmacological manufacturing. This study was aimed to analyze gallic acid and total phenolic phytoconstituents in E. officinalis Gaertn fruits from five difference varieties in both fresh and their preserved in 10% and 15% NaCl solution during three months storage time. The five fruit pulps from KR-1, KR-2, KR-3, KR-4 and LTK-3 were separated from the seeds, then have been dried and powdered, respectively. The powder was extracted by using absolute ethanol. Gallic acid content was evaluated in all extracts by using HPLC apparatus. The results revealed that KR-4 variety contained the lowest gallic acid content whereas the highest content was obtained in LTK-3 variety. Gallic acid and phenolic contents were increased from week 0 to 12. The further research will focus on food products, pharmaceutical evaluation and cosmetics in the LTK-3 variety.Keywords: Emblica Officinalis Gaertn, Euphorbiaceae Family, Gallic Acid, Total Phenolic Content, HPLC Analysis.

Downloads

Download data is not yet available.

Author Biographies

ขนิษฐา ชวนะนรเศรษฐ์, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).

อมรรัษฏร์ พิกุลทอง, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).

มณีรัตน์ มีพลอย, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).

ไมตรี มัณยานนท์, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).

นลินาสน์ จิตร์พรหม, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).

ปนิดา บรรจงสินศิริ, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).

ชลธิชา นิวาสประกฤติ, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).

เนาวพันธุ์ หนูจุ้ย, สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.)Thailand Institute of Scientific and Technological Research (TISTR).

Downloads

Published

2019-12-27

How to Cite

ชวนะนรเศรษฐ์ ข., พิกุลทอง อ., มีพลอย ม., มัณยานนท์ ไ., จิตร์พรหม น., บรรจงสินศิริ ป., นิวาสประกฤติ ช., & หนูจุ้ย เ. (2019). ปริมาณสารประกอบฟีนอลทั้งหมดและปริมาณแกลลิกในผลมะขามป้อมสดและผลมะขามป้อมดองจากห้าแหล่งสายพันธุ์ (TOTAL PHENOLIC AND GALLIC ACID CONTENTS IN FRESH AND PRESERVED EMBLICA OFFICINALIS GAERTN FRUITS FROM FIVE DIFFERENT VARIETIES). วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 11(22, July-December), 13–22. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/SWUJournal/article/view/12110