“ELDERFARE Model”: รูปแบบและกลไกการจัดสวัสดิการสังคมเพื่อ ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม สำหรับกลุ่มแรงงานผู้สูงอายุนอก ระบบในเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดสระแก้ว1
Abstract
“ELDERFARE Model”: รูปแบบและกลไกการจัดสวัสดิการสังคมเพื่อ ลดความเหลื่อมล้ำทางสังคม สำหรับกลุ่มแรงงานผู้สูงอายุนอก ระบบในเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดสระแก้ว1 “ELDERFARE Model”: Model and Mechanism of Social Welfare Management to Reduce Social Inequality for Elderly Labors in Informal Sectors in Sa Kaeo Economic Special Zone.บทคัดย่อบทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลไกการ จัดสวัสดิการสังคมของรูปแบบ “ELDRRFARE Model” เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางสังคมสำหรับกลุ่มแรงงานนอก ระบบที ่เป็นผู้สูงอายุในเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัด สระแก้ว รูปแบบการจัดสวัสดิการสังคมเพื่อลดความ เหลื ่อมล้ำทางสังคมสำหรับกลุ่มแรงงานผู้สูงอายุนอก ระบบในเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดสระแก้ว ประกอบไป ด้วยกลไกการขับเคลื่อนในแต่ละองค์ประกอบ ได้แก่ (1) E: Elderly Centered มีเครือข่ายแรงงานนอกระบบ ผู้สูงอายุ / ชมรมผู้สูงอายุและพัฒนาสังคมจังหวัด (2) L: Local Government Organizations มีองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่นในพื้นที่ (3) D: Doctors and Public Health Care System มีหน่วยงานด้านสาธารณสุขระดับ จังหวัด และอำเภอ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำ ตำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกองทุน ประกันสังคม (4) E: Enterprise and Investors Responsibility มีผู้ประกอบการและนักลงทุน และ นโยบายประชารัฐ (5) R: Rights of Community มี มาตรา 44 กองทุนที่ดินหรือธนาคารที่ดิน และนโยบาย ประชารัฐ (6) F: Family Link มีนโยบายรัฐบาล และ ครอบครัว (7) A: Agricultural Contribution มีกลุ่ม เครือข่ายเกษตรกร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ มาตรา 44 (8) R: Rural Community Exploitation มี กลุ่มเกษตรกร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และกลุ่ม สวัสดิการชุมชน และ (9) E: Economic Concerned มี เครือข่ายแรงงานนอกระบบผู้สูงอายุ และกลุ ่มอาชีพ ผู้สูงอายุ พัฒนาสังคมจังหวัด และองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น เป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนรูปแบบระบบ สวัสดิการสังคมทั้ง 9 องค์ประกอบดังกล่าวคำสำคัญ: ระบบสวัสดิการสังคม / ผู้สูงอายุ / แรงงาน นอกระบบ AbstractThe Objective of this research was to study the mechanism of social welfare management model named “ELDRRFARE Model” for reducing social inequality for elderly labors in informal sectors in Sa-Kaeo Economic Special Zone. Social welfare model named “ELDERFARE Model” composes of mechanism for implementation in each and every component including; (1) E: Elderly Centered component has elderly network on informal sectors and provincial social development office; (2) L: Local Government Organizations component has local administrative organization in the area; (3) D: Doctors and Public Health Care System component has public health organizations in all level such provincial, district and sub-district level, local administrative organization and social insurance funds; (4) E: Enterprise and Investors Responsibility component has enterprises and investors in the area and civil-state policy; (5) R: Rights of Community component has law section 44 , land funds or banks and civil-state policy (6) F: Family Link component has government policy and family; (7 ) A: Agricultural Contribution component has agricultural network, local administrative organization and law section 44; (8) R: Rural Community Exploitation component has agricultural network, local administrative organization and community welfare group; and (9) E: Economic Concerned component has elderly network on informal sectors and elderly career group, provincial social development office and local administrative organization.Keywords: social welfare system / elderly / informal laborsDownloads
Download data is not yet available.
Downloads
Published
2018-01-01
Issue
Section
บทความวิจัย