สติกเกอร์ท้ายรถ: วรรณกรรมของกลุ่มคนรถและกลุ่มเด็กแว้นกับการต่อสู้ทางสังคม
Keywords:
สติกเกอร์ท้ายรถ, วาทกรรม, การต่อสู้ทางสังคม, กลุ่มคนรถและกลุ่มเด็กแว้น, Bumper sticker, literature, social dispute, car drivers and teenage bikersAbstract
Bumper Stickers: Literature on Car Drivers and Teenage Bikers and Social Disputesบทคัดย่อ บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์รูปแบบสติกเกอร์ท้ายรถ ซึ่งประกอบด้วย เนื้อหา (Message) สีสัน (Color) ภาพประกอบ (Illustrator) และการใช้ภาษา (Language) ด้วยทฤษฎีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) เพื่อแสดงให้เห็นถึง รูปแบบสติกเกอร์ท้ายรถที่เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต และเพื่อวิเคราะห์วาทกรรมที่ปรากฏในสติกเกอร์ท้ายรถ ด้วยทฤษฎีวาทกรรมเชิงวิพากษ์ (Critical Discourse Analysis) ร่วมกับทฤษฎีภาพตัวแทน (Representation) เพื่อแสดงให้เห็นถึง การประกอบสร้างภาพตัวแทน ผ่านวาทกรรมของกลุ่มคนขับรถรับจ้างและกลุ่มเด็กแว้น ว่ามีการแสดงออกทางตัวตนในลักษณะใด ผ่านวาทกรรมใด รวมถึงประยุกต์ใช้ทฤษฎีปฏิบัติการในชีวิตประจำวัน (Practice of Everyday Life) เพื่ออธิบายว่า วาทกรรมที่ก่อให้เกิดภาพตัวแทนเหล่านั้นถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการต่อสู้ต่อรองอัตลักษณ์ตัวตนของกลุ่มผู้ใช้สติกเกอร์ท้ายรถอย่างไร คำสำคัญ : สติกเกอร์ท้ายรถ / วาทกรรม / การต่อสู้ทางสังคม / กลุ่มคนรถและกลุ่มเด็กแว้นAbstract The purpose of this study was to explore and understand the types of, and the literature occurred in, Bumper stickers through three principal theories: (1) Critical Discourse Analysis; (2) Practice of Everyday Life Theory; and (3) Representation Theory. The Critical Discourse Analysis was employed to demonstrate a group of literature that reflects attitude, identity, social class, education, or even social issues encountered by car drivers and teenage bikers due to their attempt to communicate messages through stickers. The theory of the Practice of Everyday Life was used to perceive stickers as a tool to negotiate with social power. In addition, the theory of Representation was adopted to reflect the identities of car drivers and teenage bikers that were portrayed through the colors and illustrations on stickers, including the aspects of message, color, illustration, and language. Keywords: Bumper stickers / literature / social dispute / car drivers and teenage bikersDownloads
Download data is not yet available.
Downloads
Published
2020-06-29
Issue
Section
บทความวิชาการ