ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาเจ้าหน้าที่บริการการศึกษา คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อให้เกิดทักษะการร่วมสร้างสรรค์ THE NEEDS FOR DEVELOPING EDUCATION SERVICE OFFICERS OF FACULTY OF COMMUNICATION ARTS CHULALONGKORN UNIVERSITY FOR ENHANCING CO-CREATION SKILLS

Main Article Content

มานิดา เสารอง
เพ็ญวรา ชูประวัติ

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ในการพัฒนาเจ้าหน้าที่บริการการศึกษาคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตามแนวคิดทักษะการร่วมสร้างสรรค์ 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาเจ้าหน้าที่บริการการศึกษาคณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตามแนวคิดทักษะการร่วมสร้างสรรค์ โดยผู้ให้ข้อมูลในการวิจัย คือ ผู้บริหารคณะนิเทศศาสตร์ จำนวน 13 คน และเจ้าหน้าที่ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 26 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาเจ้าหน้าที่บริการการศึกษา คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามแนวคิดทักษะการร่วมสร้างสรรค์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ดัชนีลำดับความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาเจ้าหน้าที่บริการการศึกษา คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามแนวคิดทักษะการร่วมสร้างสรรค์ วิเคราะห์โดยใช้สถิติบรรยาย และประเมินความต้องการจำเป็นด้วยค่า PNImodified โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง (PNImodified = 0.318)  เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ลำดับความต้องการจำเป็นสูงที่สุด คือ ด้านทักษะความคิดสร้างสรรค์ (PNImodified = 0.434) รองลงมา คือ ด้านทักษะการแก้ไขปัญหา (PNImodified = 0.323) และทักษะที่มีลำดับความต้องการจำเป็นต่ำที่สุด คือ ด้านทักษะระหว่างบุคคล (PNImodified = 0.266)

Article Details

How to Cite
เสารอง ม., & ชูประวัติ เ. (2023). ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาเจ้าหน้าที่บริการการศึกษา คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เพื่อให้เกิดทักษะการร่วมสร้างสรรค์: THE NEEDS FOR DEVELOPING EDUCATION SERVICE OFFICERS OF FACULTY OF COMMUNICATION ARTS CHULALONGKORN UNIVERSITY FOR ENHANCING CO-CREATION SKILLS. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 18(1), 72–86. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jre/article/view/15258
Section
บทความวิจัย (Research Articles)

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2553). ความคิดเชิงสร้างสรรค์. ซักเชสมีเดีย.

คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2563). รายงานการประเมินตนเอง คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปีการศึกษา 2563. กรุงเทพมหานคร : คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จินต์จุฑา วัฒนาบรรจงกุล. (2562). การศึกษาประโยชน์ที่เกิดจากการทำแนวคิดร่วมสร้าง (Co-Creation) ระหว่างองค์กรรัฐวิสาหกิจ หรือ องค์กรเอกชน ในกรุงเทพมหานคร กับพนักงาน หรือ Partner ด้วยวิธีการจ้างแบบ Outsourcing. (สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต, วิทยาลัยการจัดการ มหาวิทยาลัยมหิดล, กรุงเทพฯ). สืบค้นจาก https://archive.cm.mahidol.ac.th/bitstream/123456789/3060/1/TP%20MS.006%202562.pdf

เจนเนตร ประเสริฐวิทย์ และชญาพิมพ์ อุสาโห. (2560). แนวทางการพัฒนาการบริหารวิชาการตามแนวคิดการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ). สืบค้นจาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/emi/article/download/134059/144538/

ชัญญา บุญเจริญ และธีรภัทร กุโลภาส. (2563). ความต้องการจำเป็นของการบริหารวิชาการโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากรุงเทพมหานครตามแนวคิดทักษะความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียน. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ). สืบค้นจาก https://so01.tci-thaijo.org/index.php/OJED/article/download/241400/165161

นรเศรษฐ์ มุนีรักษา และนันทรัตน์ เจริญกุล (2564). การศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารโรงเรียนอาชีวศึกษา จังหวัดนนทบุรีตามแนวคิดการเป็นผู้ร่วมสร้างสรรค์นวัตกรรม. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 7(1), น. 90-103. สืบค้นจาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/rpu/article/view/251666/168655

มูนา เก็นตาสา. (2563). แนวทางพัฒนาบุคลากรสนับสนุนด้านวิชาการของคณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตามแนวคิดเกณฑ์คุณภาพมหาวิทยาลัยระดับนานาชาติ. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ). สืบค้นจาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/eduthu/article/view/257125

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2550). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ธีรฟิล์มและไซเท็กซ์.

สืบสกุล นรินทรางกูร ณ อยุธยา. (2564). การบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษาแนวใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สุวิมล ว่องวาณิช. (2562). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักยุทธศาสตร์และการขับเคลื่อน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2557). แผนยุทธศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2555 - 2570. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 99-108. สืบค้นจาก https://www.cts.chula.ac.th/download/736/

Amabile, T. M., Conti, R., Coon, H., Lazenby, J., & Herron, M. (1996). Assessing the work environment for creativity. Academy of management journal, 39(5), p. 1154-1184. Retrieved from https://journals.aom.org/doi/abs/10.5465/256995

Bammens, Y. P. (2016). Employees' innovative behavior in social context: A closer examination of the role of organizational care. Journal of Product Innovation Management, 33(3), p. 244-259. Retrieved from https://doi.org/10.1111/jpim.12267

Bartl, M., Jawecki, G., & Wiegandt, P. (2010). Co-creation in new product development: conceptual framework and application in the automotive industry. In Conference Proceedings R&D Management Conference–Information, Imagination and Intelligence, Manchester (Vol. 9), p. 1-9. Retrieved from https://www.researchgate.net/profile/Michael-Bartl-2/publication/228905562_Co-Creation_in_New_Product_Development_Conceptual_Framework_and_Application_in_the_Automotive_Industry.pdf

Bovill, C. (2020). Co-creation in learning and teaching: the case for a whole-class approach in higher education. Higher education, 79(6), p. 1023-1037. Retrieved from https://link.springer.com/article/10.1007/s10734-019-00453-w

Cavallone, M., Ciasullo, M. V., Douglas, J., & Palumbo, R. (2021). Framing higher education quality from a business perspective: setting the conditions for value co-creation. Studies in Higher Education, 46(6), p. 1099-1111. Retrieved from https://doi.org/10.1080/03075079.2019.1672644

Chemi, T., & Krogh, L. (Eds.). (2017). Co-creation in higher education: Students and educators preparing creatively and collaboratively to the challenge of the future. Springer. Retrieved from https://www.researchgate.net/publication/319091600_Co-creation_in_Higher_Education_Students

Chen, G., Farh, J. L., Campbell-Bush, E. M., Wu, Z., & Wu, X. (2013). Teams as innovative systems: Multilevel motivational antecedents of innovation in R&D teams. Journal of applied psychology, 98(6), p. 1018 - 1027. Retrieved from https://doi.org/10.1037/a0032663

Díaz‐Méndez, M. and Gummesson, E. (2012), "Value co‐creation and university teaching quality: Consequences for the European Higher Education Area (EHEA)", Journal of Service Management, 23(4), p. 571-592. Retrieved from https://doi.org/10.1108/09564231211260422

Dollinger, M., Lodge, J., & Coates, H. (2018). Co-creation in higher education: Towards a conceptual model. Journal of Marketing for Higher Education, 28(2), p. 210-231. Retrieved from https://doi.org/10.1080/08841241.2018.1466756

Elsharnouby, T. H. (2015). Student co-creation behavior in higher education: The role of satisfaction with the university experience. Journal of marketing for higher education, 25(2), p. 238-262. Retrieved from https://doi.org/10.1080/08841241.2015.1059919

Judson, K. M., & Taylor, S. A. (2014). Moving from marketization to marketing of higher education: The co-creation of value in higher education. Higher education studies, 4(1), p. 51-67. Retrieved from https://eric.ed.gov/?id=EJ1076369

Ma, Z., Long, L., Zhang, Y., Zhang, J., & Lam, C. K. (2017). Why do high-performance human resource practices matter for team creativity? The mediating role of collective efficacy and knowledge sharing. Asia Pacific Journal of Management, 34, p. 565-586. Retrieved from https://doi.org/10.1007/s10490-017-9508-1

Magni, D., Pezzi, A., & Vrontis, D. (2020). Towards a framework of students' co-creation behaviour in higher education institutions. International Journal of Managerial and Financial Accounting, 12(2), p. 119-148. Retrieved from https://doi.org/10.1504/IJMFA.2020.109129

McClelland, D. C. (1987). Human motivation. Cup Archive.Amabile, T. M., et al. (1996). "Assessing the work environment for creativity." Academy of management journal 39(5), p. 1154-1184. Retrieved from https://books.google.co.th/books?hl=th&lr=&id=vic4AAAAIAAJ&oi=fnd&pg=PA31&dq=McClelland,+D.+C.+(1987).

Prajapati, R., Sharma, B., & Sharma, D. (2017). Significance of life skills education. Contemporary Issues in Education Research (CIER), 10(1), 1-6.

Roffey, S. (2016). "Building a case for whole-child, whole-school wellbeing in challenging contexts." Educational & child psychology 33(2): p. 30-42. Retrieved from https://d1wqtxts1xzle7.cloudfront.net/43885199/Building_a_case_for_whole_chlld_whole_school_ wellbeing_in_challenging_contexts-libre.pdf?

Yamane, T. (1973). Statistics: An Introductory Analysis (3 rd ed.). Harper and Row, New York.

Yeh, Y. C. (2012). A co-creation blended KM model for cultivating critical-thinking skills. Computers & Education, 59(4), p. 1317-1327. Retrieved from https://doi.org/10.1016/j.compedu.2012.05.017

Zamora-Ramos, M. R., Díaz-Méndez, M., & Chamorro-Mera, A. (2023). Higher education student complaint

behavior in a complex service ecosystem: A value co-creation perspective. Innovar, 33(87), 27-41. Retrieved from https://doi.org/10.15446/innovar.v33n87.105500