ศักยภาพระบบความร้อนรังสีอาทิตย์ในการผลิตไฟฟ้าด้วยเธอร์โมอิเล็กทริก
Abstract
บทคัดย่อ บทความนี้เป็นบทความวิชาการปริทรรศน์การประยุกต์ใช้รังสีอาทิตย์ในรูปแบบความร้อนในภาคการผลิตไฟฟ้าด้วยเธอร์โมอิเล็กทริก (TEG) พบว่าระบบมีศักยภาพเป็นแหล่งพลังงานความร้อนให้กับ TEG เพื่อผลิตเป็นพลังงานไฟฟ้าผ่านตัวเก็บรังสีอาทิตย์แบบต่างๆ ร่วมกับระบบสะสมความร้อน สามารถเพิ่มระยะเวลาทำงาน และความเสถียรของระบบซึ่งเคยเป็นจุดอ่อนของรังสีอาทิตย์มาโดยตลอดได้ และโดดเด่นกว่าเมื่อเทียบกับการผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์สุริยะ (solar cell) ตามลำดับ โดยแบ่งแหล่งความร้อนออกเป็น 3 ระดับ คือช่วงอุณหภูมิต่ำ (<100°C) สำหรับวัสดุเธอร์โมอิเล็กทริกประเภท Bi2Te3 ช่วงอุณหภูมิปานกลาง (100-400°C) สำหรับวัสดุประเภท CeFe4Sb12, CoSb3และช่วงอุณหภูมิสูง ( >400°C) สำหรับวัสดุประเภท SiGe ทั้งสามชนิดนั้นสามารถประยุกต์ใช้ตามตัวเก็บรังสีแต่ละชนิด เพื่อส่งเสริมให้ TEG เป็นเทคโนโลยี สำหรับการอนุรักษ์พลังงาน และสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน คำสำคัญ: การผลิตไฟฟ้าด้วยเธอร์โมอิเล็กทริก ความร้อนรังสีอาทิตย์ ตัวเก็บรังสีอาทิตย์ ABSTRACT This review article describes that the application of solar thermal system in electricity generation using thermoelectric generator (TEG). The system is a heat source for TEG to generate electrical energy through different types of solar collectors associated with heat storage system. The combination of the systems is not only an important factor to increase a working duration and a stability of the system ,which has been a weak point of a solar thermal system, but also is better than an electricity generation using solar cell. Common types of TEG include a low range of temperature(<100°C) for a thermoelectric material as Bi2Te3, a medium range of temperature (100-400°C) for materials as CeFe4Sb12, CoSb3 and a high range of temperature (>400°C) for material as SiGe. All TEGs are varied with types of solar collectors. Therefore, the system can encourage TEG to be a technology for a sustainable energy and environmental conservation. Keyword: Thermoelectric Power Generator, Solar Thermal, Solar CollectorDownloads
Download data is not yet available.
Downloads
Published
2016-06-30
Issue
Section
บทความวิชาการ
License
ลิขสิทธิ์เป็นของวารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ