ระดับสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพและความต้องการการออกกำลังกาย ของนักเรียนโรงเรียนจิตรลดา ปีการศึกษา 2552
Abstract
การวิจัยครั้ง นี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ ศึกษาระดับสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพและความต้องการการออกกำลังกายของนักเรียนโรงเรียนจิตรลดา ปีการศึกษา 2552 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา เป็นนักเรียนชาย 240 คน และ นักเรียนหญิง 240 คน รวมทัง้ สิ้น 480 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ (The President’s Challenge) ประกอบด้วยการทดสอบ 5 รายการ คือ ดัชนีมวลกาย นั่งงอตัวไปข้างหน้า นอนงอตัว ดันพื้นมุมฉาก และความอดทนในการเดินวิ่ง 1 ไมล์ และแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น มีค่าความเชื่อมัน่ เท่ากับ.92 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน1. ด้านแบบสอบถามความต้องการการออกกำลังกายของนักเรียนโรงเรียนจิตรลดา ปีการศึกษา 2552 โดยรวมมีความต้องการในด้านสถานที่ อุปกรณ์และสิ่งอำนวยความสะดวก และด้านผู้นำการออกกำลังกายและบุคลากรผู้ให้บริการ และด้านการส่งเสริมและให้ความรู้ในการออกกำลังกาย พบว่า มีความต้องการอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.71 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.50 ในด้านวัน เวลา ช่วงเวลาในการออกกำลังกาย และชนิดกีฬาในการออกกำลังกาย พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ มีความต้องการออกกำลังกายในวันศุกร์ มากที่สุด จำนวน 306 คน คิดเป็นร้อยละ 63.75 ด้านเวลาในการออกกำลังกายในแต่ละครั้งนักเรียน มีความต้องการ เวลาในการออกกำลังกาย มากที่สุดคือ เวลา 1 ชัว่ โมง จำนวน 182 คน คิดเป็นร้อยละ 37.92 ช่วงเวลาในการออกกำลังกายนักเรียนมีความต้องการ มากที่สุดคือ ช่วงเวลา 16.00-17.00 น.จำนวน 232 คน คิดเป็นร้อยละ 48.33 ด้านชนิดกีฬาในการออกกำลังกายนักเรียน มีความต้องการมากที่สุดคือ กีฬาแบดมินตัน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.98 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.02 รองลงมาคือกีฬาว่ายน้ำ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.77 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.09 และกีฬาบาสเกตบอล มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.74 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 1.102. ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ของนักเรียนโรงเรียนจิตรลดา ปีการศึกษา 25522.1 นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 นักเรียนชาย ดัชนีมวลกาย = 21.45±4.77 นั่ง งอตัวไปข้างหน้า = 4±5 เซนติเมตร ดันพื้น = 8±6 ครัง้ ลุก-นัง่ = 19±5 ครัง้ เดิน/วิ่ง 1 ไมล์ = 8.25±2.02 นาทีนักเรียนหญิง ดัชนีมวลกาย = 18.88±3.24 นัง่ งอตัวไปข้างหน้า = 8±6 เซนติเมตร ดันพื้น = 4±3 ครัง้ ลุก-นัง่ = 17±4 ครัง้ เดิน/วิ่ง 1 ไมล์ = 12.14±2.37 นาที2.2 นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 2 นักเรียนชาย ดัชนีมวลกาย = 21.53±4.17 นัง่ งอตัวไปข้างหน้า = 7±6 เซนติเมตร ดันพื้น = 16±10 ครัง้ ลุก-นัง่ = 25±5 ครัง้ เดิน/วิ่ง 1 ไมล์ = 10.35±2.58 นาทีนักเรียนหญิง ดัชนีมวลกาย = 19.76±3.02 นัง่ งอตัวไปข้างหน้า = 10±7 เซนติเมตร ดันพื้น =6±3 ครัง้ ลุก-นัง่ = 19±5 ครัง้ เดิน/วิ่ง 1 ไมล์ = 13.33±2.38 นาที2.3 นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 นักเรียนชาย ดัชนีมวลกาย = 21.67±4.00 นัง่ งอตัวไปข้างหน้า = 8±8 เซนติเมตร ดันพื้น = 20±11 ครัง้ ลุก-นัง่ = 27±5 ครัง้ เดิน/วิ่ง 1 ไมล์ = 13.07±2.14 นาที นักเรียนหญิง ดัชนีมวลกาย = 20.65±2.88 นัง่ งอตัวไปข้างหน้า = 11±6 เซนติเมตร ดันพื้น = 3±3 ครัง้ ลุก-นัง่ = 21±4 ครัง้ เดิน/วิ่ง 1 ไมล์ = 13.07±2.14 นาที2.4 นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 4 นักเรียนชาย ดัชนีมวลกาย = 21.31±3.27 นัง่ งอตัวไปข้างหน้า =11±7 เซนติเมตร ดันพื้น = 23±9 ครัง้ ลุก-นัง่ = 24±4 ครัง้ เดิน/วิ่ง 1 ไมล์ = 9.37±2.19 นาที นักเรียนหญิง ดัชนีมวลกาย = 19.65±2.75 นัง่ งอตัวไปข้างหน้า = 12±6 เซนติเมตร ดันพื้น = 4±6 ครัง้ ลุก-นัง่ = 20±6 ครัง้ เดิน/วิ่ง 1 ไมล์ = 12.53±1.42 นาที2.5 นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 5 นักเรียนชาย ดัชนีมวลกาย = 21.58±3.79 นั่ง งอตัวไปข้างหน้า = 9±8 เซนติเมตร ดันพื้น = 22±10 ครัง้ ลุก-นัง่ = 25±7 ครัง้ เดิน/วิ่ง 1 ไมล์ =9.41±2.22 นาที นักเรียนหญิง ดัชนีมวลกาย = 19.65±2.64 นัง่ งอตัวไปข้างหน้า = 12±5 เซนติเมตร ดันพื้น = 6±4 ครัง้ ลุก-นัง่ = 19±4 ครัง้ เดิน/วิ่ง 1 ไมล์ = 13.06±2.08 นาที2.6 นักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 6 นักเรียนชาย ดัชนีมวลกาย = 21.83±3.00 นั่ง งอตัวไปข้างหน้า = 10±9 เซนติเมตร ดันพื้น = 18±9 ครัง้ ลุก-นัง่ = 26±6 ครัง้ เดิน/วิ่ง 1 ไมล์ = 9.59±2.19 นาที นักเรียนหญิง ดัชนีมวลกาย = 20.19±3.10 นัง่ งอตัวไปข้างหน้า = 10±9 เซนติเมตร ดันพื้น = 7±4 ครัง้ ลุก-นัง่ = 19±5 ครัง้ เดิน/วิ่ง 1 ไมล์ = 12.51±2.27 นาทีDownloads
Published
2012-06-22
Issue
Section
Research