The Development of Assessment of Conceptual Knowledge in Physics by Using a Concept Map : Application of Generalizability Theory

Authors

  • อกนิษฐ์ บุญสอาด นิสิตระดับมหาบัณฑิต แขนงสาขาวิชาการทดสอบและวัดผลการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ
  • สุวิมล กฤชคฤหาสน์ อาจารย์ประจำภาควิชาวัดผลและวิจัยการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ
  • อิทธิฤทธิ์ พงษ์ปิยะรัตน์ ศึกษานิเทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี

Abstract

การพัฒนาแบบประเมินความคิดรวบยอด วิชาฟิสิกส์โดยใช้แผนผังมโนทัศน์ :การประยุกต์ใช้ทฤษฎีการสรุปอ้างอิงความน่าเชื่อถือของผลการวัดAbstract   The purposes of this research were to1) develop  and examine conceptual knowledge assessment  by using  concept mapping to teach Work and Energy of Matthayomsuksa 4 students in secondary school 2) compare the generalizability coefficient of  conceptual knowledge assessment  by using the construct-a-map with created linking phrases and construct-a-map with selected linking phrases  in condition  with a different order of construction ; and on  different occasions by generalizability theory. The samples of this study were 68 Matthayomsuksa                      4  students of academic year 2012  in  1 extra-large secondary school   in  the Secondary Educational Service Area Office 16. The findings were summarized as follows : 1) The reliability of  conceptual knowledge assessment  by using construct- a- map with created linking phrases and   the construct-a-map with selected linking phrases  were 0.67–0.70 and 0.66 -0.84  respectively. 2)  For assessment of   the conceptual knowledge   by using the construct-a-map with created linking phrases  followed by  using  construct- a- map with selected linking phrases. There was a  value for the generalizability coefficient higher  than the conceptual knowledge assessment  by using construct- a- map with selected linking phrases  followed by using  the construct-a- map with created linking  phrases. The coefficient was significantly different at level 0.05.When the conceptual knowledge assessment was evaluated  by using  the construct-a-map with only created linking phrases. There was a value for the generalizability coefficient at    a significantly different  level  of 0.05 when tested on two different occasions.   Keywords: Physics , Concept map , Generalizability Theory , Occasionsบทคัดย่อ การศึกษาครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมินความคิดรวบยอด โดยใช้แผนผังมโนทัศน์ วิชาฟิสิกส์ เรื่องงานและพลังงานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 และเปรียบเทียบค่าสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิงของแบบประเมินความคิดรวบยอดโดยใช้แผนผังมโนทัศน์แบบการสร้างผังคำและคำเชื่อม และแบบการเลือกคำเชื่อมที่มีลำดับของการสร้างแผนผังมโนทัศน์ และจำนวนครั้งในการวัดที่ต่างกัน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 68 คน แผนการเรียนวิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2555 โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 16 จำนวน 1 โรง ผลการศึกษา พบว่าแบบประเมินความคิดรวบยอดวิชาฟิสิกส์โดยใช้แผนผังมโนทัศน์แบบการเลือกคำเชื่อม จำนวน 4 ฉบับ ค่าความเชื่อมั่นมีค่าตั้งแต่ 0.65 - 0.70 และแบบประเมินความคิดรวบยอดวิชาฟิสิกส์โดยใช้แผนผังมโนทัศน์แบบการสร้างผังคำและคำเชื่อม จำนวน 4 ฉบับ ค่าความเชื่อมั่นมีค่าตั้งแต่ 0.66 ถึง 0.84 ค่าสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิงของลำดับของการสร้างแผนผังมโนทัศน์ที่เริ่มจากแบบสร้างผังคำและคำเชื่อม ตามด้วยแบบการเลือกคำเชื่อมมีค่าสูงกว่าลำดับของการสร้างแผนผังมโนทัศน์ที่เริ่มจากแบบการเลือกคำเชื่อม ตามด้วยแบบการสร้างผังคำและคำเชื่อมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และค่าสัมประสิทธิ์การสรุปอ้างอิงของแบบประเมินความคิดรวบยอดโดยใช้แผนผังมโนทัศน์แบบการสร้างผังคำและคำเชื่อม มีค่าแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญสถิติที่ระดับ 0.05 ในการวัด 1 ครั้ง และ 2 ครั้ง   คำสำคัญ: ฟิสิกส์ การสร้างแผนผังมโนทัศน์ ทฤษฏีการสรุปอ้างอิงความน่าเชื่อถือของผลการวัด                          จำนวนครั้งในการวัด

Downloads

Published

2014-01-31

Issue

Section

บทความวิจัย