การเลิกทาสของพ่อหลวง: ความหมายหลักและความโดดเด่นของภาษา
Abstract
บทคัดย่อ การวิจัยนี้ศึกษาความเด่นในประกาศเลิกทาสในหนังสือราชกิจจานุเบกษารัชกาลที่ ๕ เล่มที่ 1, 17, 18, 19, 21 และ 22 มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาความเด่นของเนื้อหาสาระและวิเคราะห์กลไกทางภาษาในการแสดงความเด่นในประกาศเลิกทาส การวิจัยพบความเด่นของเนื้อหาสาระในประกาศเลิกทาส 5 ประการ คือ 1) การเปลี่ยนแปลงขนบธรรมเนียมโบราณซึ่งแสดงถึงการกดขี่ซึ่งแสดงถึงความไม่เจริญ 2) การยกเลิกสิ่งที่เป็นต้นเหตุทำให้คนกลายเป็นทาสหรือขายตัวกลับไปเป็นทาส 3) การเลิกทาสต้องทำอย่างค่อยเป็นค่อยไปจึงจะประสบความสำเร็จ 4) หลักการดำเนินงานในการเลิกทาสและ 5) แผนการเลิกทาส ความเด่นเหล่านี้ปรากฏการใช้กลไกการแสดงความเด่น 3 กลไกสำคัญ เรียงตามลำดับจากมากไปน้อย คือ 1. กลไกการซ้ำความ 2. กลไกการแสดงใจความสำคัญ และ 3. กลไกการเรียงลำดับหัวเรื่อง สำคัญ: ความเด่นในข้อความ การเลิกทาส จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว Abstract The purpose of this study was to investigate discourse prominence and prominence devices used in King Chulalongkorn’s proclamations of abolition of slavery. The data was collected from the Government Gazette numbers 1, 17, 18, 19, 21, 22. The results of the study show the following 5 points of semantic prominence: 1) To abolish all the traditions that exert oppression, the main one being slavery. 2) Abolish all condition which leading to slavery. 3) The abolition of slavery must proceed gradually step by step. 4) Issuing of principles to the abolition of slavery. 5) The 4 step plan leading to the completion of the abolition of slavery. Three devices were used to create semantic prominence namely, repetition, thematic, order of appearance, the first being the most important. Keyword: Discourse Prominence, Slavery Abolition, King ChulalongkornDownloads
Published
2016-06-13
Issue
Section
บทความวิจัย