วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา en-US pawatwong@g.swu.ac.th (ผศ.ดร.ปวัฒวงศ์ บำรุงขันท์) somwan@g.swu.ac.th (Miss Somwan Aimvijit) Fri, 17 Nov 2023 03:08:23 +0000 OJS 3.3.0.8 http://blogs.law.harvard.edu/tech/rss 60 ความเป็นมา https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15850 <p><strong><span data-contrast="none">ความเป็นมา</span></strong><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">ด้วยภาควิชาอุตสาหกรรมศึกษาคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒมีนโยบายสนับสนุน</span><span data-contrast="none">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </span><span data-contrast="none">การเผยแพร่ผลงานทางวิชาการด้านอุตสาหกรรมศึกษาในรูปแบบบทความวิชาการบทความวิจัยเพราะเห็นว่าจะเป็นประโยชน์ในการพัฒนาความรู้แก่บุคลากรนักวิชาการรวมทั้งเป็นประโยชน์แก่สังคมและประเทศชาติจึงได้จัดทำวารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษากำหนดออกปีละ</span><span data-contrast="none"> 2 </span><span data-contrast="none">ฉบับจัดทำเป็นฉบับราย</span><span data-contrast="none"> 6 </span><span data-contrast="none">เดือนโดยฉบับที่</span><span data-contrast="none"> 1 </span><span data-contrast="none">ช่วงเดือน</span> <span data-contrast="none">มกราคม – มิถุนายน</span> <span data-contrast="none">และฉบับที่</span><span data-contrast="none"> 2 </span><span data-contrast="none">ช่วงเดือนกรกฎาคม – ธันวาคม</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><strong><span data-contrast="none">วัตถุประสงค์ของการจัดพิมพ์วารสาร</span></strong><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <ol> <li><span data-contrast="none">1</span><span data-contrast="none">. เพื่อเผยแพร่ผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพของบุคลากรและ/หรือนักวิชาการทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย</span></li> <li><span data-contrast="none">2</span><span data-contrast="none">. เพื่อเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางวิชาการ</span></li> <li><span data-contrast="none">3</span><span data-contrast="none">. เพื่อส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพทางวิชาการแก่บุคลากรทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย</span></li> </ol> <p><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><strong><span data-contrast="none">การเผยแพร่</span></strong> <span data-contrast="none">กองบรรณาธิการมอบวารสารให้แก่หอสมุดและหน่วยงานในสถาบันการศึกษาต่างๆ</span><span data-ccp-props="{}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">เผยแพร่ออนไลน์ที่&nbsp; </span><em><span data-contrast="auto">URL : </span></em><a href="http://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/issue/archive"><em><span data-contrast="none">http://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/issue/archive</span></em></a><span data-ccp-props="{&quot;335559685&quot;:720,&quot;335559731&quot;:720}">&nbsp;</span></p> กองบรรณาธิการ วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา Copyright (c) 2023 https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15850 Fri, 29 Dec 2023 00:00:00 +0000 กองบรรณาธิการ https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15851 <p><strong><span data-contrast="none">เจ้าของ</span></strong> <span data-contrast="none">: </span><span data-contrast="none">ภาควิชาอุตสาหกรรมศึกษาคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">114 </span><span data-contrast="none">สุขุมวิท</span><span data-contrast="none"> 23 </span><span data-contrast="none">เขตวัฒนากรุงเทพฯ</span><span data-contrast="none"> 10110&nbsp;</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559685&quot;:1440,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><strong><span data-contrast="none">พิมพ์ที่</span></strong> <span data-contrast="none">: </span><span data-contrast="none">ห้างหุ้นส่วนจำกัดสินทวีกิจพริ้นติ้งนครปฐม</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><strong><span data-contrast="none">ที่ปรึกษา</span></strong> <span data-contrast="none">: คณบดีคณะศึกษาศาสตร์</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">&nbsp; </span><span data-contrast="none">รองคณบดีคณะศึกษาศาสตร์ฝ่ายวิชาการ</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559685&quot;:1440,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">&nbsp; </span><span data-contrast="none">หัวหน้าภาควิชาอุตสาหกรรมศึกษา</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559685&quot;:1440,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><strong><span data-contrast="none">บรรณาธิการ</span></strong> <span data-contrast="none">: </span><span data-contrast="none">ผศ. ดร.</span> <span data-contrast="none">ปวัฒวงศ์&nbsp; บำรุงขันท์</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><strong><span data-contrast="none">กองบรรณาธิการ</span></strong> <span data-contrast="none">: อ. ดร. ไพรัช</span><span data-contrast="none">&nbsp; </span> <span data-contrast="none">วงศ์ยุทธไกร (ข้าราชการบำนาญมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ</span><span data-contrast="none">)</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">ศ. ว่าที่ร้อยโท ดร.พิชัย</span> <span data-contrast="none">สดภิบาล</span><span data-contrast="none"> (</span><span data-contrast="none">สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง</span><span data-contrast="none">)</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559685&quot;:2160,&quot;335559731&quot;:108,&quot;335559737&quot;:-554,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">&nbsp; </span><span data-contrast="none">รศ. ดร. กัญญา</span> <span data-contrast="none">กำศิริพิมาน (ข้าราชการบำนาญมหาวิทยาลัยเชียงใหม่)&nbsp;</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559685&quot;:1440,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">&nbsp; </span><span data-contrast="none">ผศ.</span> <span data-contrast="none">ดร. ธีรพล</span> <span data-contrast="none">เทพหัสดินณอยุธยา (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง)&nbsp;</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559685&quot;:1440,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559737&quot;:-696,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">&nbsp; </span><span data-contrast="none">รศ. ดร.ธนรัตน์</span> <span data-contrast="none">แต้วัฒนา (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)&nbsp;</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559685&quot;:1440,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559737&quot;:-379,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">&nbsp; </span><span data-contrast="none">ผศ. ดร. สุวัฒน์</span> <span data-contrast="none">อัจฉริยนนท์ (ข้าราชการบำนาญมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม</span><span data-contrast="none">)&nbsp;</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559685&quot;:1440,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">&nbsp; </span><span data-contrast="none">ผศ. ดร.ชมพูนุท</span> <span data-contrast="none">สุขหวาน (มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา)&nbsp;</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559685&quot;:1440,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">&nbsp; </span><span data-contrast="none">อ. ดร.สมชาย</span> <span data-contrast="none">หมื่นสายญาติ (สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง)&nbsp;</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559685&quot;:1440,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559737&quot;:-271,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">&nbsp; </span><span data-contrast="none">อ. ดร. อุปวิทย์</span> <span data-contrast="none">สุวคันธกุล (ข้าราชการบำนาญมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ)&nbsp;</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559685&quot;:1440,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">&nbsp; </span><span data-contrast="none">อ. ดร. อัมพร</span> <span data-contrast="none">กุญชรรัตน์ (ข้าราชการบำนาญมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ)</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559685&quot;:1440,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">&nbsp; </span><span data-contrast="none">อ. ดร. โอภาส</span><span data-contrast="none">&nbsp; </span> <span data-contrast="none">สุขหวาน (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ)&nbsp;</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559685&quot;:1440,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><strong><span data-contrast="none">ฝ่ายจัดการ</span></strong> <strong><span data-contrast="none">&nbsp; </span></strong><span data-contrast="none">อ. ดร. โอภาส&nbsp; </span> <span data-contrast="none">สุขหวาน</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><strong><span data-contrast="none">การติดต่อกองบรรณาธิการ</span></strong><span data-contrast="none">ภาควิชาอุตสาหกรรมศึกษาคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">114 </span><span data-contrast="none">สุขุมวิท</span><span data-contrast="none"> 23 </span><span data-contrast="none">แขวงคลองเตยเหนือ เขตวัฒนากรุงเทพฯ</span><span data-contrast="none"> 10110&nbsp;</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559685&quot;:1440,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">โทร. </span><span data-contrast="none">0-2649-5000 </span><span data-contrast="none">ต่อ</span><span data-contrast="none"> 15287, 15443 </span><span data-contrast="none">โทรสาร</span><span data-contrast="none"> 0-2260-0124&nbsp;</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559685&quot;:1440,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">e-mail: </span><a href="mailto:ophast@hotmail.com"><span data-contrast="none">ophast@hotmail.com</span></a><span data-contrast="none">,&nbsp; </span><a href="mailto:pawatwong@g.swu.ac.th"><span data-contrast="none">pawatwong@g.swu.ac.th</span></a><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559685&quot;:1440,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><strong><span data-contrast="none">ส่งบทความออนไลน์</span></strong> <span data-contrast="none">http://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu&nbsp;</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> กองบรรณาธิการ วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา Copyright (c) 2023 https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15851 Fri, 29 Dec 2023 00:00:00 +0000 ผู้ทรงคุณวุฒิที่พิจารณาบทความ https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15849 <p>ผู้ทรงคุณวุฒิที่พิจารณาบทความ</p> กองบรรณาธิการ วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา Copyright (c) 2023 https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15849 Fri, 29 Dec 2023 00:00:00 +0000 บทบรรณาธิการ https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15852 <p><strong><span data-contrast="none">บทบรรณาธิการ</span></strong><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษาคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒเป็นวารสารวิชาการระดับชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล</span><span data-contrast="none"> TCI </span><span data-contrast="none">ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจัดทำขึ้นปีละ</span><span data-contrast="none"> 2 </span><span data-contrast="none">ฉบับเพื่อใช้เป็นแหล่งเผยแพร่บทความทางวิชาการรายงานการวิจัยบทวิจารณ์หรือบทความอื่นๆซึ่งเกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมศึกษาโดยการสนับสนุนจากคณาจารย์จากสาขาวิชาอุตสาหกรรมศึกษาคณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒและคณาจารย์จากสถาบันการศึกษาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษารับตีพิมพ์บทความในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนทางอุตสาหกรรมศึกษาสิ่งแวดล้อมศึกษาที่สัมพันธ์กับอุตสาหกรรมอาชีวศึกษาเทคนิคศึกษาการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยีเทคโนโลยีทางการศึกษาการจัดการทางอุตสาหกรรมเทคนิคทางอุตสาหกรรมเทคโนโลยีทางอุตสาหกรรม</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษาฉบับนี้เป็นปีที่</span><span data-contrast="none"> 17 </span><span data-contrast="none">ฉบับที่ </span><span data-contrast="none">2&nbsp; </span><span data-contrast="none">กรกฎาคม – ธันวาคม</span><span data-contrast="none"> 2566 </span><span data-contrast="none">ประกอบด้วย</span> <span data-contrast="none">บทความวิจัยจำนวน </span><span data-contrast="none">7 </span><span data-contrast="none">บทความ</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">อนึ่งความคิดเห็นจากบทความวิชาการหรือรายงานการวิจัยแต่ละเรื่องที่นำเสนอในวารสารฉบับนี้เป็นความเห็นจากผู้เขียนหรือผู้วิจัยกองบรรณาธิการมีหน้าที่จัดพิมพ์และเผยแพร่เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทางวิชาการแก่สังคมเท่านั้น</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-contrast="none">กองบรรณาธิการวารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบุคลากรทั้งในสถานศึกษาและสถานประกอบการตลอดจนผู้สนใจโดยทั่วไปจะได้รับสาระประโยชน์จากวารสารฉบับนี้</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><strong><span data-contrast="none">ผู้ช่วยศาสตราจารย์</span></strong> <strong><span data-contrast="none">ดร.ปวัฒวงศ์</span></strong><strong><span data-contrast="none">&nbsp; </span></strong><strong><span data-contrast="none">บำรุงขันท์</span></strong><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:3,&quot;335551620&quot;:3,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> <p><strong><span data-contrast="none">บรรณาธิการ</span></strong><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:3,&quot;335551620&quot;:3,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}">&nbsp;</span></p> กองบรรณาธิการ วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา Copyright (c) 2023 https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15852 Fri, 29 Dec 2023 00:00:00 +0000 สารบัญ https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15853 <p>สารบัญ</p> กองบรรณาธิการ วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา Copyright (c) 2023 https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15853 Fri, 29 Dec 2023 00:00:00 +0000 แนะนำผู้เขียน https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15854 กองบรรณาธิการ วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา Copyright (c) 2023 https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15854 Fri, 29 Dec 2023 00:00:00 +0000 ตัวอย่างรูปแบบการเขียนบทความ https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15855 กองบรรณาธิการ วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา Copyright (c) 2023 https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15855 Fri, 29 Dec 2023 00:00:00 +0000 ระบบควบคุมเครื่องบรรจุกาละแมกึ่งอัตโนมัติ https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15715 <p style="font-weight: 400;"> </p> <p><strong><span data-contrast="auto">บทคัดย่อ</span></strong><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p><span data-contrast="none">การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ </span><span data-contrast="none">1) </span><span data-contrast="none">พัฒนาระบบควบคุมเครื่องบรรจุกาละแมแบบกึ่งอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตกาละแมให้กับกลุ่มผู้ผลิตกาละแม ด้วยระบบไมโครคอนโทรลเลอร์ </span><span data-contrast="none">Arduino </span><span data-contrast="none">ในการประมวลผลการสั่งการทำงานของเครื่องบรรจุกาละแม</span><span data-contrast="none"> 2) </span><span data-contrast="none">เพื่อศึกษาสมรรถนะเครื่องบรรจุกาละแมแบบกึ่งอัตโนมัติ โดยเครื่องบรรจุกาละแมมีระบบการทำงาน </span><span data-contrast="none">2 </span><span data-contrast="none">รูปแบบ ได้แก่ </span><span data-contrast="none">1) </span><span data-contrast="none">ระบบสั่งการแบบกึ่งอัตโนมัติ กำหนดน้ำหนักคงที่ </span><span data-contrast="none">3 </span><span data-contrast="none">ระดับ คือ ขนาด </span><span data-contrast="none">50 </span><span data-contrast="none">กรัม </span><span data-contrast="none">80 </span><span data-contrast="none">กรัม และ </span><span data-contrast="none">120 </span><span data-contrast="none">กรัม และ </span><span data-contrast="none">2) </span><span data-contrast="none">ระบบแมนนอล กำหนดน้ำหนักตามที่ต้องการ โครงสร้างเครื่องบรรจุกาละแมกึ่งอัตโนมัติ ประกอบด้วย ระบบควบคุมการทำงาน ถังบรรจุกาละแม และชุดหัวกดปั๊มบรรจุกาละแม ตัวแปรที่ศึกษา ได้แก่ ระบบควบคุมระยะการกดของชุดกดหัวปั๊มบรรจุที่เหมาะสม ที่น้ำหนักเนื้อกาละแม ขนาด </span><span data-contrast="none">50 </span><span data-contrast="none">กรัม </span> <br /><span data-contrast="none">80 </span><span data-contrast="none">กรัม และ </span><span data-contrast="none">120 </span><span data-contrast="none">กรัม และสามารถลดระยะเวลาการผลิตรวมกาละแมแม่ปรีดา ผลการวิจัยพบว่า ระบบควบคุมของ</span> <br /><span data-contrast="none">ชุดกดหัวปั๊มบรรจุกาละแมได้ที่ระยะที่เหมาะสม คือ </span><span data-contrast="none">0.8 1.5 </span><span data-contrast="none">และ </span><span data-contrast="none">3 </span><span data-contrast="none">เซนติเมตร ได้น้ำหนักเฉลี่ย </span><span data-contrast="none">52.1 82.5 </span><span data-contrast="none">และ </span> <br /><span data-contrast="none">122.5 </span><span data-contrast="none">กรัม</span> <span data-contrast="none">ตามลำดับ ค่าความคลาดเคลื่อน </span><span data-contrast="none">+3</span><span data-contrast="none"> กรัม ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่ผู้ผลิตยอมรับได้ เครื่องบรรจุกาละแมกึ่งอัตโนมัติสามารถบรรจุกาละแมได้มากกว่าแรงงานคนถึง </span><span data-contrast="none">9 </span><span data-contrast="none">เท่า และจากการศึกษาสมรรถนะสูงสุดของเครื่องบรรจุกาละแม</span><span data-contrast="none">กึ่งอัตโนมัติมีกำลังการผลิตต่อวัน เท่ากับ</span><span data-contrast="none"> 234</span><span data-contrast="none"> กิโลกรัม โดยสามารถลดระยะเวลาการผลิตรวมได้ถึง </span><span data-contrast="none">320 </span><span data-contrast="none">นาที</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240,&quot;469777462&quot;:[864,1224,1584,1944,2304],&quot;469777927&quot;:[0,0,0,0,0],&quot;469777928&quot;:[1,1,1,1,1]}"> </span></p> <p><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p><strong><span data-contrast="auto">คำสำคัญ </span></strong><strong><span data-contrast="auto">:</span></strong> <span data-contrast="auto">กาละแม</span><span data-contrast="auto">, </span><span data-contrast="auto">เครื่องบรรจุกาละแม</span><span data-contrast="auto">, </span><span data-contrast="auto">แบบกึ่งอัตโนมัติ</span><span data-contrast="auto">, </span><span data-contrast="auto">ระบบควบคุม</span> <span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p> </p> <p><strong><span data-contrast="auto">Abstract</span></strong><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p><span data-contrast="none">Develop a semi-automatic packaging machine control system to increase the efficiency of the galamai production process for a group of galamai producers using the Arduino microcontroller system to process the machine's operation commands. 2) Study the semi-automatic galamai packaging machine's performance, which operates in two modes: 1) Semi-automatic mode with fixed weights at three levels: 50 grams, 80 grams, and 120 grams, and 2) Manual mode with customizable weights. The semi-automatic galamai packaging machine comprises a control system, a galamai storage tank, and a set of pump head compression components. </span> <br /><span data-contrast="none">The variables studied include the appropriate compression stroke control for the pump head assembly based on the galamai's weight at 50 grams, 80 grams, and 120 grams. The research found that the control system for the pump head assembly was suitable at stroke lengths of 0.8, 1.5, and 3 centimeters, resulting in average weights of 52.1, 82.5, and 122.5 grams, respectively, with a margin of error of +3 grams, which is acceptable to the manufacturers. The semi-automatic galamai packaging machine can package galamai more efficiently than manual labor, up to 9 times the output, and has a maximum daily production capacity of 234 kilograms. The total production time can be reduced by up to 320 minutes.</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p><span data-ccp-props="{}"> </span></p> <p><strong><span data-contrast="auto">Keywords : </span></strong><span data-contrast="auto">Kalamae, The Kalamae filling machine, Semi-automatic, The control system </span><span data-ccp-props="{}"> </span></p> ชิโนรส ละอองวรรณ Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15715 Fri, 29 Dec 2023 00:00:00 +0000 การศึกษารูปแบบการโกลนพลอยสีในจังหวัดจันทบุรี https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15888 <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการถ่ายทอดวิธีการโกลนพลอย ขั้นตอนการทำงาน และการใช้อุปกรณ์ของช่างโกลนพลอยในจังหวัดจันทบุรี 2) เพื่อศึกษาการสร้างรูปร่างรูปทรงของพลอย การวางตำแหน่งสีของพลอยจากพลอยก้อนของช่างโกลนพลอยในจังหวัดจันทบุรีด้วยการสัมภาษณ์ข้อมูลเชิงลึกจากแบบสอบถามแบบ<br>กึ่งโครงสร้างกับกลุ่มตัวอย่างช่างโกลนพลอยในจังหวัดจันทบุรี จำนวน 10 ท่าน ที่มีประสบการณ์โกลนพลอยมากกว่า 2 ปีขึ้นไป ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างเป็นแบบเฉพาะเจาะจงโดยการขอข้อมูลจากสมาคมผู้ค้าอัญมณีและเครื่องประดับจังหวัดจันทบุรีพบว่าการเรียนรู้วิธีการโกลนพลอยแบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ&nbsp; 1) ช่างโกลนพลอยที่มีพื้นเพเป็นคนจันทบุรีส่วนใหญ่ฝึกฝนการโกลนพลอยจากญาติพี่น้องที่ทำการสอนต่อ ๆ กันมา 2) ช่างโกลนพลอยที่มาจากต่างจังหวัดที่ได้รับการฝึกอบรมจากสถานประกอบการ 3) ช่างโกลนพลอยที่การเรียนรู้ด้วยตนเองแบบครูพักลักจำ อุปกรณ์ที่ใช้ใน<br>การโกลนพลอยประกอบด้วยโต๊ะโกลน และหินโกลนพลอยที่มีความละเอียดแตกต่างกันตามความเหมาะสมของลักษณะพลอยแต่ละชนิด การพิจารณารูปร่าง รูปทรง และการวางตำแหน่งสีของพลอยมีผลต่อราคาพลอยอย่างยิ่ง&nbsp; พลอยส่วนใหญ่จะถูกโกลนเป็นรูปไข่เนื่องจากมีความนิยมการซื้อขายกันมากที่สุด ในส่วนของพลอยที่ไม่สามารถทำ<br>รูปไข่ได้จะพิจารณารูปร่างอื่นที่ใกล้เคียงกับลักษณะก้อนพลอยมากที่สุดเพื่อการเก็บน้ำหนัก ลักษณะสีตามธรรมชาติของก้อนพลอยชนิดต่าง ๆ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม 1) พลอยที่มีหย่อมสีจะมีการวางตำแหน่งสีในบริเวณก้นพลอยเพื่อให้<br>สีกระจายขึ้นที่ด้านหน้าพลอย 2) พลอยที่ไม่มีหย่อมสีแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกคือพลอยที่มีสีเดียวทั้งเม็ด การโกลนพลอยมีวัตถุประสงค์เพื่อการหลบรอยแตกร้าว รูปร่างและเก็บน้ำหนัก กลุ่มที่ 2 พลอยที่มีสีแฝด พลอยกลุ่มนี้จะต้องเพิ่มการพิจารณาเลือกตำแหน่งที่มีสีเหมาะสมร่วมด้วย</p> <p><strong>&nbsp;</strong></p> <p><strong>คำสำคัญ </strong><strong>:</strong> การโกลนพลอย, หย่อมสี, สีแฝด&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The research aimed to investigate the knowledge transferring method on gemstone preforming by the gems cutters in Chanthaburi including the technique and equipment of the preforming. Moreover, the aim was to analyze the process of rough-stone shaping and color positioning by the cutter in Chanthaburi. In-depth interview by semi-structured questionnaire was used to collect information from ten gemstone cutters in Chanthaburi. Each of them had over two years of experience. Purposive sampling of the gem’s cutter group was done by requesting the information from Chanthaburi Gems and Jewelry Traders Association. The findings identified three groups of knowledge transferring methods on gemstone preforming. The first group, Chanthaburi-local gems cutters, gained the skill from the family members. The second group, the cutters from outside Chanthaburi, was trained by the company. The third group was self-taught. The preforming equipment comprised of the preforming table and the grinding wheel with different scales of roughness depending on types of gemstones.&nbsp; Shape, cut and color of gemstones affects a market value of the gemstones. The study showed that, in Chanthaburi, the stones were mainly cut in oval shape due to the market demand. Otherwise, the stones were shaped to maximize their final-cut weight. Gemstone color positioning methods were divided into two groups. One group, for gemstones with color zoning, was to position the color zone at the bottom of the shape. So the color would appear on the face of the cut stone.&nbsp; The other group, for the stones without color zoning, was separated into two sub-group. (1) For one-color gemstones, color-positioning was unnecessary. The preforming was only to remove crack, shape and preserve the weight. (2) For gemstones with pleochroism, color positioning was necessary to locate the appropriate color of the gemstones.</p> <p><strong>Keywords : </strong>Gemstone preforming, Color zoning, Pleochroism</p> <p>&nbsp;</p> ปริญญา ชินดุษฎีกุล, อุทิศ บำรุงชีพ Copyright (c) 2024 https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15888 Fri, 30 Dec 2022 00:00:00 +0000 ผลของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต ์ ร่วมกบั กลวิธีการคิดเป็ นภาพและ กลวิธีแก้โจทย ์ปัญหาฟิสิกส ์ เชิงตรรกะของเฮลเลอร ์ และเฮลเลอร ์ ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15746 <p>บทคดัย่อ<br />การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบมโนทัศน์ฟิสิกส์ของนักเรียนก่อนและหลังได้รับการจัดการ<br />เรียนรู้และเปรียบเทียบมโนทัศน์ฟิสิกส์ของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้กับเกณฑ์ร้อยละ 60 2) เพื่อเปรียบเทียบ<br />ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ของนักเรียนก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้และเปรียบเทียบ<br />ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนรู้กับเกณฑ์ร้อยละ 60 และ 3) เพื่อ<br />ศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ร่วมกับกลวิธีการคิดเป็นภาพและกลวิธีแก้โจทย์<br />ปัญหาฟิสิกส์เชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์ แบบแผนที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบแผนการทดลองแบบกลุ่มเดียว<br />ทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 วิชาเอกวิศวกรรม ภาคเรียนที่ 1 ปี<br />การศึกษา 2566 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร (ฝ่ายมัธยม) จ านวน 43 คน ได้จากการสุ่ม<br />แบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบวัดมโนทัศน์ฟิสิกส์ 3) แบบวัดความสามารถใน<br />การแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ และ 4) แบบสอบถามวัดความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการทดสอบ<br />สมมติฐาน ได้แก่ การทดสอบที (t-test for dependent samples, t-test for one sample) ผลวิจัยพบว่า 1) มโนทัศน์<br />ฟิสิกส์หลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนเรียนและสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส าคัญทาง<br />สถิติที่ระดับ .05 2) ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์หลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สูงกว่า<br />ก่อนเรียน และสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 60 อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) ความพึงพอใจหลังเรียนของ<br />นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ร่วมกับกลวิธีการคิดเป็นภาพและกลวิธีแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์<br />เชิงตรรกะของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์อยู่ในระดับมากอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p> <p><br />คeส าคัญ : คอนสตรัคติวิสต์, กลวิธีการคิดเป็นภาพ, การแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ของเฮลเลอร์และเฮลเลอร์, มโนทัศน์<br />ฟิสิกส์, การแก้โทย์ปัญหาฟิสิกส</p> <p> </p> <p>Abstract<br />The purposes of the research are as follows: (1) to compare the pretest and posttest results physics <br />concept of students and to compare the posttest results physics concept of students with the criterion of 60 <br />percent, (2) to compare the pretest and posttest results physics solving problem ability of students and to <br />compare the posttest results physics solving problem ability of with the criterion of 60 percent; and (3) to study <br />satisfaction of students who learned through constructivist learning method with visual thinking strategy and <br />Heller and Heller logical physics problem solving strategy. The research design was a one-group pretest <br />posttest design. The sample of the research included 43 eleventh grade students in engineering major in the <br />first semester of the 2023 academic year at Srinakarinwirot Prasarnmit Demonstration School (secondary). The <br />sample for the study was obtained by cluster random sampling. The research instruments consisted of (1) <br />lesson plans (2) physics concept test (3) physics problem solving test; and (4) learning management satisfaction <br />questionnaire. The hypotheses were tested with a t-test for dependent samples and t-test for one sample. The <br />results of the research were as follows: (1) students had physics concept score higher than before the <br />instruction and higher than the 60 percent of the criteria at the .05 level of significance, (2) students had physics <br />problem solving score higher than before the instruction and higher than the 60 percent of the criteria at the <br />.05 level of significance; and (3) students who learned through constructivist learning method with visual thinking <br />strategy and Heller and Heller logical physics problem solving strategy had satisfaction in high level of the <br />criteria at the .05 level of significance.</p> <p><br />Keywords : Constructivist, Visual Thinking, Physics problem solving of Heller and Heller strategy, Physics <br />concept, Physics problem solving</p> ณัฐพร ทองพันธ์, วันเพ็ญ ประทุมทอง, เกริก ศักดิ์สภุาพ Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15746 Fri, 29 Dec 2023 00:00:00 +0000 การศึกษาและเปรียบเทียบวิธีการหาขอบภาพด้วยกล้องวงจรปิด สำหรับการวัดและแจ้งเตือนระดับน้ำในแม่น้ำลำคลอง https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15425 <p><strong><span data-contrast="auto">บทคัดย่อ</span></strong><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p><span data-contrast="none">บทความนี้จัดทำขึ้นเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบวิธีการหาขอบภาพด้วยกล้องวงจรปิด สำหรับการวัดและแจ้งเตือนระดับน้ำในแม่น้ำลำคลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาวิธีการหาขอบภาพด้วยกล้องวงจรปิด สำหรับการวัดและแจ้งเตือนระดับน้ำในแม่น้ำลำคลอง 2) เปรียบเทียบวิธีการหาขอบภาพด้วยกล้องวงจรปิด สำหรับการวัดและแจ้งเตือนระดับน้ำ ในแม่น้ำลำคลอง ในงานวิจัยนี้ได้ศึกษาระยะทางแบบยูคลิเดียนนำมาใช้ในการแจ้งเตือนระดับน้ำที่มีการเปลี่ยนแปลง โดยศึกษาระดับน้ำบริเวณคลองในอำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม จากผลการทดลองพบว่า การเปรียบเทียบ</span> <span data-contrast="none">ค่าความผิดพลาดทั้ง 3 วิธี คือวิธีการ </span><span data-contrast="none">MSE, RMSE </span><span data-contrast="none">และ</span><span data-contrast="none">MAD </span><span data-contrast="none">วิธีวิธีการหาขอบภาพที่มีค่าความผิดพลาดมากที่สุดคือวิธีการหาขอบภาพแบบพรีวิท โดยมีค่า </span><span data-contrast="none">MSE = 9,238.016, </span><span data-contrast="none">ค่า</span><span data-contrast="none">RMSE = 96.1146 และค่า MAD = 86.30894 และวิธีการหาขอบภาพที่มีค่าความผิดพลาดน้อยที่สุดคือวิธีการหาขอบภาพแบบอนุพันธ์อันดับสองโดยมีค่า MSE = 5.642276, </span><span data-contrast="none">ค่า </span><span data-contrast="none">RMSE = 2.375348 และค่า MAD = 1.44715</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240,&quot;469777462&quot;:[864,1224,1584,1944,2304],&quot;469777927&quot;:[0,0,0,0,0],&quot;469777928&quot;:[1,1,1,1,1]}"> </span></p> <p><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p><strong><span data-contrast="auto">คำสำคัญ </span></strong><strong><span data-contrast="auto">:</span></strong> <span data-contrast="auto">วิธีการหาขอบภาพ</span><span data-contrast="auto">, </span><span data-contrast="auto">กล้องวงจรปิด</span><span data-contrast="auto">, </span><span data-contrast="auto">แจ้งเตือนระดับน้ำ</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p> </p> <p><strong><span data-contrast="auto">Abstract</span></strong><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p><span data-contrast="none">In this paper, the edge location methods of closed-circuit television images used for canal water level measurement and early warning are studied and compared. The purposes are: 1) to study the edge location methods of closed-circuit television images used for canal water level measurement and early warning; 2) Compare the edge location methods of closed-circuit television images for canal water level measurement and early warning. In this paper, based on the research on the early warning of canal water level change, Euclidean distance is used to locate the canal water level change. According to the experimental results, the three error values are compared by MSE, RMSE and MAD, and the image edge location method with the most error values is eccentric image edge method. MSE = 9,238.016, RMSE = 96.1146 and MAD value = 86.30894 and the method of finding the image edge with the minimum error value are the methods of finding the second derivative image edge with MSE = 5.642276, RMSE = 2.375348 and MAD value = 1.44715</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p><span data-ccp-props="{}"> </span></p> <p><strong><span data-contrast="auto">Keywords : </span></strong><span data-contrast="auto">Methods for finding edges, surveillance cameras, water level alerts</span></p> ยุติ ฉัตรวรานนท์, ภุชงค์ จันทร์จิระ Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15425 Fri, 29 Dec 2023 00:00:00 +0000 ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคการตั้งคําถามที่มีผลต่อความสามารถในการอธิบายทางวิทยาศาสตร์และความสามารถในการทำงานเป็นทีมของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่5 https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15751 <p><strong><span data-contrast="auto">บทคัดย่อ</span></strong><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p><span data-contrast="none">การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการอธิบายทางวิทยาศาสตร์ก่อนและหลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถาม 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการอธิบายทางวิทยาศาสตร์ และความสามารถในการทำงานเป็นทีมของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถามและการจัดการเรียนรู้แบบปกติ และ3) เพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการความสามารถในการทำงานเป็นทีมของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถาม กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเซนต์คาเบรียล ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เป็นกลุ่มทดลอง 1 ห้อง จำนวน 46 คน และกลุ่มควบคุม 1 ห้อง จำนวน 46 คน ระยะเวลาในการทดลอง จำนวน 20 คาบ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 แบบแผนการวิจัยได้แก่ </span><span data-contrast="none">Control Group Pretest – Posttest Design </span><span data-contrast="none">และ</span><span data-contrast="none">One Group Repeated Measures Design </span><span data-contrast="none">เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการเปลี่ยนแปลงของสาร 3) แบบวัดความสามารถในการอธิบายทางวิทยาศาสตร์ และ 4) แบบประเมินความสามารถในการทำงานเป็นทีม สถิติที่ใช้ได้แก่ การทดสอบที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบมีการวัดซ้ำ ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถามมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการอธิบายทางวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถามมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการอธิบายทางวิทยาศาสตร์และความสามารถในการทำงานเป็นทีมสูงกว่านักเรียนที่ได้รับการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ3) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคการตั้งคำถามมีพัฒนาการความสามารถในการทำงานเป็นทีมสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240,&quot;469777462&quot;:[864,1224,1584,1944,2304],&quot;469777927&quot;:[0,0,0,0,0],&quot;469777928&quot;:[1,1,1,1,1]}"> </span></p> <p><strong><span data-contrast="auto">คำสำคัญ </span></strong><strong><span data-contrast="auto">:</span></strong> <span data-contrast="auto">การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ</span><span data-contrast="auto">, </span><span data-contrast="auto">เทคนิคการตั้งคำถาม</span><span data-contrast="auto">, </span><span data-contrast="auto">ความสามารถในการอธิบายทางวิทยาศาสตร์</span><span data-contrast="auto">, </span><span data-contrast="auto">ความสามารถในการทำงานเป็นทีม</span><span data-contrast="auto">, </span><span data-contrast="auto">ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p> </p> <p><strong><span data-contrast="auto">Abstract</span></strong><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p><span data-contrast="none">The objectives of this research were 1) to compare the pretest and posttest results involving learning achievement and scientific explanation ability of students who received cooperative learning management with questioning techniques, 2) to compare learning achievement , scientific explanation ability, and teamwork ability of students who received cooperative learning management with questioning techniques and traditional teaching method; and 3) to compare the development of students' teamwork ability that have been cooperative learning management with questioning techniques. The samples of the research were fifth grade students at St. Gabriel's School. which were obtained by cluster random sampling. One classroom was designed as the experimental group (46 students) and the other one was designed as the control group (46 students). The duration of this research was 20 periods in the first semester of the 2022 academic year. The research design was Control Group Pretest – Posttest Design and One-Group Repeated Measures design. The research instruments consisted of 1) lesson plans, 2) a learning achievement test, 3) a Scientific explanation test; and 4) Teamwork ability assessments. The hypotheses were tested by t-test for Dependent Samples, t-test for Independent Samples and One-way ANOVA Repeated Measures. The results of research found the following: 1) students who received cooperative learning management with questioning techniques had learning achievement; and scientific explanation ability higher than before the instruction at a .05 level of significance, 2) students who received cooperative learning management with questioning techniques had learning achievement, scientific explanation ability; and teamwork ability higher than students who received the traditional teaching method at a .05 level of significance; and 3) students who received cooperative learning with questioning techniques had the development of teamwork ability at a .05 level of significance.</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p><strong><span data-contrast="auto">Keywords : </span></strong><span data-contrast="auto">Cooperative learning Management, Questioning techniques, Scientific Explanation Ability, Teamwork Ability, Learning Achievement</span><span data-ccp-props="{}"> </span></p> ประภาพรรณ วิเศษสุวรรณวัต, วันเพ็ญ ประทุมทอง , สุธาวัลย์ หาญขจรสุข Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15751 Fri, 29 Dec 2023 00:00:00 +0000 STUDY OF BATTERY ENERGY MANAGEMENT FOR EV UNDER CONDITION HYBRID BESS AND V2G IN MICROGRID https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15636 <p><strong><span data-contrast="auto">Abstract</span></strong><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p><span data-contrast="none">This paper discusses the installation of electric vehicles (EVs) integrated with battery energy storage systems (BESS) in the setting of transferring energy from vehicle-to-grid (V2G) to a microgrid distribution system, employing the IEEE 13 bus standard. The EVs have a power rating of 4.8 kilowatts (kW), while the BESS has a power rating of 500 kW. The overall design connects These systems to the three-phase bus, utilizing the daily load profile. Bus settings are available on 632, 633, 634, 671, 675, and 680 buses. The power flow computation in the Open Distribution System Simulation (OpenDSS) program is utilized by the simulation. Results of a research investigation comparing the implementation of EVs and BESS within microgrid systems. The study's findings were compared to both the regular system and the system that was implemented. The highest and minimum values of the per-unit system exhibit equality. The aggregate power distribution for active and reactive power exhibits a negligible disparity of less than 1 %. Regarding the power loss value in both active systems, namely free and reactive, a marginal difference of less than 1 % exists. The presence of the backup power supply does not have any impact on the primary testing system utilized in the experiment.</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p><strong><span data-contrast="auto">Keywords : </span></strong><span data-contrast="auto">Electric vehicles, Battery energy storage systems, V2G</span><span data-ccp-props="{}"> </span></p> Somchat Sonasang, Prakasit Prabpal, Somchat Sonasang, Montrawaj Noosawad Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15636 Fri, 29 Dec 2023 00:00:00 +0000 การพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีตัวอย่างเป็นฐานร่วมกับเกมมิฟิเคชัน https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15714 <p><strong><span data-contrast="auto">บทคัดย่อ</span></strong><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p><span data-contrast="none">การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ (1)เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีตัวอย่างเป็นฐานร่วมกับเกมมิฟิเคชัน และ การจัดการเรียนรู้แบบปกติ และ (2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีตัวอย่างเป็นฐานร่วมกับเกมมิฟิเคชัน ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ โดยแบบแผนการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบ </span><span data-contrast="none">Control Group Pretest – Posttest Design </span><span data-contrast="none">กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แผนการเรียนศิลป์ โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ เตรียมอุดมศึกษาน้อมเกล้า ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ซึ่งได้จากการสุ่มแบบกลุ่ม(</span><span data-contrast="none">Cluster Random Sampling) </span><span data-contrast="none">แล้วแบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน</span><span data-contrast="none"> 1 </span><span data-contrast="none">ห้องเรียน จำนวน 40 คน และ กลุ่มควบคุม จำนวน 1 ห้องเรียนจำนวน 37 คน โดยใช้ระยะเวลาทดลองทั้งหมดจำนวน 18 คาบเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 เครื่องมือในการวิจัย (1)แผนการจัดการเรียนรู้โดยการใช้กรณีตัวอย่างเป็นฐานร่วมกับเกมมิฟิเคชัน (2)แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ (3)แบบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ (4)แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ(5)แบบวัดเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานได้แก่การทดสอบค่าที</span><span data-contrast="none"> (t-test for Independent Samples </span><span data-contrast="none">และ </span><span data-contrast="none">t-test for Dependent Samples) </span><span data-contrast="none">ผลวิจัยพบว่า(1)นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้</span> <span data-contrast="none">โดยใช้กรณีตัวอย่างเป็นฐานร่วมกับเกมมิฟิเคชัน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์สูงกว่านักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) นักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีตัวอย่างเป็นฐานร่วมกับเกมมิฟิเคชันมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240,&quot;469777462&quot;:[864,1224,1584,1944,2304],&quot;469777927&quot;:[0,0,0,0,0],&quot;469777928&quot;:[1,1,1,1,1]}"> </span></p> <p><strong><span data-contrast="auto">คำสำคัญ </span></strong><strong><span data-contrast="auto">:</span></strong> <span data-contrast="auto">การจัดการเรียนรู้โดยใช้กรณีตัวอย่างเป็นฐาน </span><span data-contrast="auto">, </span><span data-contrast="auto">เกมมิฟิเคชัน </span><span data-contrast="auto">,</span><span data-contrast="auto">ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน </span><span data-contrast="auto">,</span><span data-contrast="auto">ความสามารถในการคิดวิเคราะห์</span><span data-contrast="auto">, </span><span data-contrast="auto">เจตคติต่อวิทยาศาสตร์</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240,&quot;469777462&quot;:[864,1224,1584,1944,2304],&quot;469777927&quot;:[0,0,0,0,0],&quot;469777928&quot;:[1,1,1,1,1]}"> </span></p> <p> </p> <p><strong><span data-contrast="auto">Abstract</span></strong><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p><span data-contrast="none">These purposes of the research are as follows: (1) to compare the learning achievement, analytical thinking abilities and attitudes toward science of students who learned through case-based learning with gamification and traditional method of teaching; and (2) to compare the learning achievement, analytical thinking abilities and attitudes toward science of students who learned through case-based learning with gamification before and after the instruction. The research design was Pretest - Posttest Design. The samples were tenth grade students of art program at Nawamintharachinuthit triamudomsuksa nomklao school which was obtained by cluster random sampling. One classroom was designed as the experimental group (40 students) which was taught with case-based learning with gamification and the other one was designed as the control group </span> <span data-contrast="none">(37 students) which was taught with the traditional method of teaching. The duration of this research was18 periods int the first semester of the academic year 2023. The instruments consisted of 1) case-based learning with gamification lesson plans, 2) traditional method of teaching lesson plans, 3) Analytical thinking measures, 4) Achievement test; and 5) Attitudes toward science measures. The hypotheses were tested by the t-test for Independent Samples and test t-test for dependent samples. The results of research found that (1) students who learned through case-based learning with gamification had learning achievement, analytical thinking abilities and attitudes toward science higher than students who learned through the traditional method of teaching at the .05 level of significance; and (2) students who learned through case-based learning with gamification had learning achievement, analytical thinking abilities and attitudes towards science higher than before the instruction at the .05 level of significance.</span><span data-ccp-props="{&quot;201341983&quot;:0,&quot;335551550&quot;:13,&quot;335551620&quot;:13,&quot;335559731&quot;:720,&quot;335559739&quot;:0,&quot;335559740&quot;:240}"> </span></p> <p><strong><span data-contrast="auto">Keywords : </span></strong><span data-contrast="auto">Case-based learning , Gamification, Achievement Test ,Analytical thinking , Attitudes toward science</span><span data-ccp-props="{}"> </span></p> ปราโมทย์ ศรีคงคา, วันเพ็ญ ประทุมทอง, สุธาวัลย์ หาญขจรสุข Copyright (c) 2023 วารสารวิชาการอุตสาหกรรมศึกษา https://ejournals.swu.ac.th/index.php/jindedu/article/view/15714 Fri, 29 Dec 2023 00:00:00 +0000