Foundations of Mixed Methods Research: Integrating Quantitative and Qualitative Approaches in the Social and Behavioral Sciences

Authors

  • อุษา ศรีจินดารัตน์(Usa Srijindarat) สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มศว

Abstract

The book Foundations of Mixed Methods Research: Integrating Quantitative and QualitativeApproaches in the Social and Behavioral Sciences by Charles Teddlie and Abbas Tashakkori isreviewed. This textbook includes two sections and an epilogue. The two sections are MixedMethods: “The Third Methodological Movement” (Chapters 1-5) and “Methods and Strategies ofMixed Methods Research” (Chapters 6-12). The first section focuses on definitions, history,utility, and paradigm issues, whereas the second takes the reader or student through the mixedmethods process, and then takes students through all aspects of working with mixed methods fromresearch design and data collection through analysis and conclusions. An overview of the book,together with a summary, key terms and brief analysis of each chapter, is provided. Review (s) of:Foundations of Mixed Methods Research: Integrating Quantitative and Qualitative Approaches inthe Social and Behavioral Sciences, by Charles Teddlie and Abbas Tashakkori, Sage, Los Angeles,2009, 387 pages, ISBN: 978-0-7619-3012-9.Keywords: mixed methods research, social sciences, behavioral sciencesบทคัดย่อวิจารณ์หนังสือชื่อ ‘Foundations of Mixed Methods Research: Integrating Quantitative andQualitative Approaches in the Social and Behavioral Sciences’ เขียนโดย Charles Teddlie และ AbbasTashakkori สำนักพิมพ์ Sage, Los Angeles, 2009, 387 pages, ISBN: 978-0-7619-3012-9. หนังสือพื้นฐานวิธีวิจัยแบบผสานวิธีด้วยการบูรณาการเชิงปริมาณและคุณภาพเล่มนี้มีเนื้อหาสำหรับนักวิจัยและนักศึกษาใช้ประกอบการเรียนในวิชาเกี่ยวกับวิธีวิทยาการวิจัยแบ่งเป็นสองส่วนคือ ส่วนแรกในบทที่ 1 ถึง บทที่ 5 ว่าด้วยความเคลื่อนไหวในแนวคิดวิธีวิทยา การให้นิยาม ประวัติความเป็นมาของแนวคิดแบบผสานวิธีเบื้องต้น ส่วนที่สองเป็นกลยุทธ์วิธีวิจัยแบบผสานวิธีในบทที่ 6 ถึง บทที่ 12 เป็นกระบวนการทำงานวิจัยแบบผสานวิธี การตั้งคำถาม การออกแบบงานวิจัยการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และการสรุปผลการวิจัยแบบผสานวิธี ในแต่ละบทมีสรุปการวิเคราะห์และคำสำคัญนอกจากนี้ยังมีภาคผนวกเพิ่มเติมเกี่ยวกับอนาคตและการเรียนการสอนของวิธีการวิจัยแบบผสานวิธีคำสำคัญ: การวิจัยแบบผสานวิธี สังคมศาสตร์ พฤติกรรมศาสตร์

Downloads

Published

2012-03-15