Work socialization in ASEAN liberalisation professional workers: Achitectural Service
Abstract
กระบวนการถ่ายทอดทางสังคมเชิงอาชีพเสรีในกลุ่มอาเซียน :กรณีศึกษาวิชาชีพสถาปนิก Abstract The research aimed to 1) Study work socialization tactics of Architectures. 2) To understand the result of work socialization in case of organization, work and role. 3) To understand role perception of Architectures for preparing to ASEAN Community. Qualitative methodology was using in form a case study. The data were collected by in-depth interview, informal interview, observation, and study of related documents. The key informants were collected include 3 expertise Architect by purposive sampling. The result revealed that 1) Professional Architectures had work socialization by directed and in-directed. 2) Architectures had knowledge about the organization’s value, patient and willingness to work, and professional ethics. 3) Architectures lack of information perceived in preparing to the ASEAN Community, and perceived only mass media. However Architectures are aware of strength in Architectures design. Keywords: socialization, ASEAN Community, architecturesบทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษากลวิธีการถ่ายทอดทางสังคมในการทำงานของวิชาชีพสถาปนิก 2) เพื่อทำความเข้าใจถึงผลของการถ่ายทอดทางสังคมของวิชาชีพสถาปนิก ในประเด็นของความรอบรู้เกี่ยวกับองค์กร ความรอบรู้ในงาน และรอบรู้ในบทบาทหน้าที่ และ 3) เพื่อทำความเข้าใจการรับรู้บทบาทของการเป็นสถาปนิกในการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบการศึกษารายกรณี เก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก รวมถึงการใช้การสัมภาษณ์แบบไม่เป็นทางการ การสังเกต และการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ซึ่งการวิจัยครั้งนี้ได้เลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเจาะจง ซึ่งเป็นสถาปนิกที่มีความรู้ความสามารถจำนวน 3 คน ผลการศึกษาวิจัยพบว่า 1) วิชาชีพสถาปนิกมีการถ่ายทอดทางสังคมทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยมีกลวิธีการถ่ายทอดทางสังคม 2 รูปแบบ คือ การถ่ายทอดทางสังคมแบบเป็นทางการและการถ่ายทอดทางสังคมแบบไม่เป็นทางการ 2) สถาปนิกมีความรอบรู้เกี่ยวกับองค์กรในส่วนของค่านิยม และจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยค่านิยมที่ได้รับการถ่ายทอด คือ ความอดทนและความตั้งใจในการทำงาน และจรรยาบรรณวิชาชีพ และ 3) การรับรู้ข้อมูลในการเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนนั้น สถาปนิกยังขาดความเข้าใจที่แท้จริง มีเพียงสิ่งที่ได้รับรู้จากสื่อประชาสัมพันธ์เท่านั้น อย่างไรก็ตามสถาปนิกก็มีความตระหนักถึงจุดเด่นของงานสถาปนิกไทย คือ ด้านการออกแบบงานสถาปัตยกรรม คำสำคัญ: การถ่ายทอดทางสังคม อาเซียน สถาปนิกDownloads
Published
2014-01-31
Issue
Section
บทความวิจัย