ผลการจัดกิจกรรมนันทนาการที่เน้นการละเล่นของเด็กไทยที่มีต่อคุณค่าทางวัฒนธรรม ของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดดอน กรุงเทพมหานคร (The Result of Using Recreational Activities Focusing on the Traditional Playing of Thai Children that Affect to the Culture Value in ... )

Authors

  • ภูมินทร์ มีขันหมาก (Phumin Meekhanmak)
  • เทเวศร์ พิริยะพฤนท์ (Thewet Phiriyaparin)
  • สมควร โพธิ์ทอง (Somkhuan Pothong)

Abstract

          The purpose of this research was to study and compare the quality of the culture value in the student of Pratomsuksa VI between before and after they used recreation activities focusing on the traditional playing of Thai children. The sample were 30 Pratomsuksa VI students in Watdon school, Bangkok. The tool used in the collection of data were a plan of recreation activities focusing on the playing of Thai children and a questionnaire about the quality of culture value with the 5-rating scales. The statistics used frequency, percentage, mean, standard deviation and hypothesis of research test by t-test           The result of using recreation activities focusing on the traditional play of Thai children found the quality of the culture value after using that recreation activities could make the students have the quality of culture value significantly higher at .05 level than before using the recreation activities.  Key words: recreational activities, traditional playing of Thai children, culture value บทคัดย่อ          การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบระดับคุณค่าทางวัฒนธรรมของนักเรียนชั้นประถมปีที่ 6 ระหว่างก่อนกับหลังจากที่ได้รับการจัดกิจกรรมนันทนาการที่เน้นการละเล่นของเด็กไทย กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นประถมปีที่ 6 ของโรงเรียนวัดดอน กรุงเทพมหานคร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2551 จานวน 30 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่ายจากจานวนนักเรียนทั้งสิ้น 244 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมที่เน้นการละเล่นของเด็กไทย และแบบสอบถามระดับคุณค่าทางวัฒนธรรม ซึ่งเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test)          ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าภายหลังการใช้กิจกรรมนันทนาการที่เน้นการละเล่นของเด็กไทย ส่งผลให้นักเรียนมีระดับคุณค่าทางวัฒนธรรมสูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05คำสำคัญ: การจัดกิจกรรมนันทนาการ, การละเล่นของเด็กไทย, คุณค่าทางวัฒนธรรม 

Downloads