การวิเคราะห์ปัญหาการออกเสียงภาษาไทยของนักเรียนชาวไทยปกากะญอ ตำบลตะนาวศรี จังหวัดราชบุรี
Abstract
บทคัดย่อ งานวิจัยนี้อธิบายปรากฏการณ์ทางเสียงที่พบในนักเรียนชาวไทยปกากะญอ ตำบลตะนาวศรี จังหวัดราชบุรี ข้อมูลภาษาแสดงปัญหาการออกเสียงดังนี้ 1) การตัดหน่วยเสียงพยัญชนะต้นควบกล้ำ 2) การใช้กฎเกินการ 3) การตัดหน่วยเสียงพยัญชนะท้าย 4) การแทนที่หน่วยเสียงพยัญชนะท้าย 5) การลดสระเสียงยาว 6) การลากสระเสียงสั้นให้ยาวขึ้น และ 7) การเคลื่อนต่ำลงของหน่วยเสียงสระ การปรับเปลี่ยนหน่วยเสียงพยัญชนะ หน่วยเสียงสระ และโครงสร้างพยางค์ของการออกเสียงภาษาไทยเพื่อให้สอดคล้องกับหน่วยเสียงพยัญชนะ หน่วยเสียงสระ และโครงสร้างพยางค์ของภาษาปกากะญอ ปรากฏการณ์นี้สามารถอธิบายด้วยหลักการทางสัทวิทยา คำสำคัญ การออกเสียงภาษาไทยของนักเรียนชาวไทยปกากะญอ หน่วยเสียงพยัญชนะ หน่วยเสียงสระ โครงสร้างพยางค์ ABSTRACT The research attempts to account for the problematic Thai sounds produced by Sgaw Karen students in Tanowsri, Rachaburi province. The data exhibit seven phonological phenomena: 1) Complex onset deletion 2) Overgeneralization 3) Coda deletion 4) coda substitution 5) Vowel lengthening and 7) Vowel lowering. These phenomena are triggered by Sgaw Karen-Thai students’ adapting their native language into Thai. They facilitate their Thai phonemes and syllable structures into Sgaw Karen-Thai dialect. Consonants, vowels and syllable template in their native dialect are ultimately respected. Keywords Consonants, Vowels, Syllable Structure, Sgaw Karen-ThaiDownloads
Published
2017-06-26
Issue
Section
บทความวิจัย