Preparing the Manuscript

คำแนะนำสำหรับการเตรียมต้นฉบับ

  1. พิมพ์ด้วยกระดาษ เอ 4 (พิมพ์หน้าเดียว) จำนวนไม่เกิน 15 หน้า (นับรวมบทคัดย่อ รูปภาพ ตารางที่ เอกสารอ้างอิง และภาคผนวก)
  2. ส่วนประกอบของบทความวิจัย ประกอบด้วย บทคัดย่อ บทนำ วัตถุประสงค์ของ การวิจัย อุปกรณ์และวิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิจัย สรุปและอภิปรายผล และเอกสารอ้างอิง

หมายเหตุ: ทุกบทความต้องมีบทคัดย่อเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในกรณีที่ตีพิมพ์
 บทความเป็นภาษาต่างประเทศ จะต้องมีบทคัดย่อเป็นภาษาไทยด้วย

ข้อกำหนดในการเตรียมต้นฉบับบทความ

  • ขนาดกระดาษ เอ 4
  • กรอบของข้อความ ในแต่ละหน้าให้มีขอบเขตดังนี้ จากขอบบนของกระดาษ 1.25 นิ้ว ขอบล่าง 1.0 นิ้ว ขอบซ้าย 1.25 นิ้ว ขอบขวา 1.0 นิ้ว
  • ระยะห่างระหว่างบรรทัด หนึ่งช่วงบรรทัดของเครื่องคอมพิวเตอร์
  • ตัวอักษร ใช้บราววัลเลีย นิว (Browallia New) และพิมพ์ตามที่กำหนดดังนี้
    • ชื่อเรื่อง (Title) ให้มีทั้งชื่อภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่) เป็นข้อความสั้นๆ และสื่อความหมายบ่งชี้ให้เห็นสาระสำคัญของเนื้อหา ขนาด 18 point กลางหน้ากระดาษ ตัวหนา
    • ชื่อผู้เขียนใส่ชื่อและนามสกุล ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และพิมพ์ footnote ข้อมูลหน่วยงานของผู้เขียนทุกท่านไว้เป็นภาษาอังกฤษ (ภาควิชา, คณะ, มหาวิทยาลัย, E-mail Address) ท้ายหน้าแรกของบทความนั้น

          หมายเหตุ ในกรณีที่มีผู้เขียนหลายคนให้เรียงลำดับโดยให้ชื่อผู้วิจัยหลักเป็นชื่อแรก โดยระบุคำว่า Corresponding Author และผู้เขียนท่านอื่นให้เรียงลำดับตามการทำงานวิจัยจากมากไปน้อย

  • บทคัดย่อ และ Abstract
    • ชื่อ “บทคัดย่อ” และ “Abstract” ขนาด 16 point กำหนดกึ่งกลาง ตัวหนา ข้อความบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ควรสั้น กระชับ ตรงประเด็น ครอบคลุมสาระสำคัญของบทความ ขนาด 14 point, กำหนด ชิดขอบ ตัวธรรมดา
    • ย่อหน้า 0.5 นิ้ว
  • คำสำคัญ (ตัวหนา) ให้พิมพ์ต่อจากบทคัดย่อ และ Keywords (ตัวหนา) ให้พิมพ์ต่อจาก Abstract โดยคำแรกของคำภาษาอังกฤษให้ใช้ตัวอักษรตัวใหญ่ คั่นแต่ละคำด้วยเครื่องหมาย ควรเลือก คำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับบทความประมาณ 3-5 คำ ขนาด 14 point ตัวธรรมดา

 

รายละเอียดบทความ

  • หัวข้อใหญ่ ขนาด 16 point, กำหนดชิดซ้าย, ตัวหนา
  • หัวข้อรอง ขนาด 14 point, ตัวหนา, ย่อหน้า 0.5 นิ้ว
  • เนื้อหา ขนาด 14 point, กำหนดชิดขอบ, ตัวธรรมดา, ย่อหน้า 0.5 เท่ากับหัวข้อรอง (เฉพาะเริ่มต้นข้อความ/ ประเด็นใหม่) ส่วนอื่น กำหนดชิดขอบ
  • คำศัพท์ ให้ใช้ศัพท์บัญญัติของราชบัณฑิตยสถาน
  • ภาพและตารางที่
    • ให้ระบุคำว่า ภาพ หมายเลขภาพ และชื่อของภาพไว้ใต้ภาพประกอบ และจัดข้อความบรรยายภาพให้อยู่กึ่งกลางหน้ากระดาษ
    • ให้ระบุคำว่า ตารางที่ หมายเลขตารางที่ และชื่อตารางที่พร้อมไว้ด้านบนของตารางที่ ถ้าเป็นภาษาอังกฤษให้ใช้คำว่า TABLE ชื่อตารางที่ใช้อักษรตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด หัวข้อในตารางที่ อักษรตัวแรกให้ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่
    • แหล่งที่มา ให้พิมพ์ห่างจากชื่อภาพประกอบหรือเส้นคั่นใต้ตารางที่ 1 บรรทัด (ใช้ตัวอักษรขนาด 14 point, ตัวธรรมดา)

ตัวอย่าง ภาพประกอบที่นำมาอ้างและการบอกแหล่งอ้างอิง

 

 

 

 

 

 

 

     ภาพที่ 1 แสดงผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในระบบการเงิน

 
 

                   ที่มา: รองศาสตราจารย์ สุพาดา สิริกุตตา และคนอื่นๆ . (2552) . การเงินธุรกิจ. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมสาร จำกัด. หน้า 11.

 

 

 

 

 

 

ตัวอย่าง ตารางที่นำมาอ้างและการบอกแหล่งอ้างอิง

ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างข้อมูลปฐมภูมิกับข้อมูลทุติยภูมิ

ลักษณะ

ข้อมูลปฐมภูมิ

(Primary data)

ข้อมูลทุติยภูมิ

(Secondary data)

·     จุดมุ่งหมาย (Purpose)

·     กระบวนการ (Process)

·     ต้นทุน (Cost)

·     ระยะเวลา (Time)

·     สำหรับปัญหาที่กำลังวิจัยอยู่

·     ผู้ทำวิจัยต้องมีส่วนร่วมอย่างมากมาย (Very involved)

·     สูง

·     นาน

·     สำหรับปัญหาอื่น

·     รวดเร็วและง่าย (Rapid and easy)

·     ค่อนข้างต่ำ

·     รวดเร็ว

 ที่มา: รองศาสตราจารย์ ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคนอื่นๆ . (2549). การวิจัยการตลาด. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมสาร จำกัด. หน้า 80.

 

 

รูปแบบการเขียนอ้างอิงและการเขียนเอกสารอ้างอิง (American Psychological Association: APA Style)

  1. 1. การอ้างถึงใน หนังสือ

- กรณีผู้แต่ง 1 คน

          อ้างอิง                     (สีดา สอนศรี, 2547, น. 20)

เอกสารอ้างอิง             สีดา สอนศรี. (2547). ผู้นำในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อ้างอิง                     (Michael, 1996, p. 4)

เอกสารอ้างอิง             Michael, J. G. (1996). Environmental Chang in Southeast Asia. New York: Routledge.

- กรณีผู้แต่ง 2 คน

อ้างอิง                     (โคริน เฟื่องเกษม และชัยโชค จุลศิริวงศ์, 2544, น. 150)

เอกสารอ้างอิง             โคริน เฟื่องเกษม และชัยโชค จุลศิริวงศ์. (2544). การเมืองระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อ้างอิง                     (Parnwell, & Evana, 2001, pp. 30-40)

เอกสารอ้างอิง             Parnwell, M. G., & Michael, J. G. (1966). Environmental Chang in Southeast Asia. New York: Routledge.

- กรณีผู้แต่ง 3-5 คน

อ้างอิงครั้งแรก            (สีดา สอนศรี, วิทยา สุจริตธนารักษ์, โคริน เฟื่องเกษม, ชปา จิตต์ประทุม และดอน สุขศรีทอง, 2552, น. 18)

อ้างอิงครั้งต่อไป          (สีดา สอนศรี และคนอื่นๆ , 2552, น. 18)        

เอกสารอ้างอิง             สีดา สอนศรี, วิทยา สุจริตธนารักษ์, โคริน เฟื่องเกษม, ชปา จิตต์ประทุม และดอน สุขศรีทอง. (2552). การจัดการสิ่งแวดล้อมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

อ้างอิงครั้งแรก            (Monroe, Evana, Smith, & Hensly, 2003, p. 5)

อ้างอิงครั้งต่อไป          (Monroe, et al., 2003, p. 5)

เอกสารอ้างอิง             Monroe, R. L., Evona, D. J., Smith, C. T., & Hensly, Brown. (2003).Co-Management of Natural Resource in Asia: A comparative perspective. Nias Press.

- กรณีผู้แต่งมากกว่า 6 คน

          อ้างอิง                     (จรวย บุญยุบล และคนอื่นๆ , 2536, น. 11)

เอกสารอ้างอิง             จรวย บุญยุบล และคนอื่นๆ. (2536). พลังงาน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

 

อ้างอิง                     (จรวย บุญยุบล และคนอื่นๆ, 2536, น. 11)

เอกสารอ้างอิง             Cramer, R. L., et al., (1984). Language: Structure and use (2nd ed). Illinois: Scott.

- บรรณาธิการ ผู้รวบรวม ผู้เรียบเรียง

          อ้างอิง                     (อุกกฤษฎ์ ปัทมานนท์, 2548, น. 352)

          เอกสารอ้างอิง             อุกกฤษฎ์ ปัทมานนท์ (บก.). (2548). เอเชียรายปี 2548.                                                             กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อ้างอิง                     (Smith, 1983, Chap. 5)

เอกสารอ้างอิง             Smith, A. D. (Ed.). (1983). Psychology: Principle and Practice. New York: Thieme.

 

2.การอ้างถึงใน บทความในหนังสือ

          อ้างอิง                     (ชัยโชค จุลศิริวงศ์, 2548, น. 293-420)

          เอกสารอ้างอิง             ชัยโชค จุลศิริวงศ์. (2548). ผู้นำมาเลเซีย. ในสีดา สอนศรี                                                           (หัวหน้าโครงการ) ผู้นำในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: ศึกษาเฉพาะ                                                                ประเทศอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย และไทย.                                                          (น. 293-420). กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

          อ้างอิง                     (McLennan, 2001, p. 49)

เอกสารอ้างอิง             McLennan, G. (2001). Maintaining Marx. In G. Ritzer and B.Smart (Eds.). Handbook of Social Theory. (pp. 43-53). London: Sage.

  1. การอ้างถึงใน รายงานการวิจัย

            อ้างอิง                          (ฉันทนา บรรณ และศิริโชติ หวันแก้ว, 2535, น. 75)

เอกสารอ้างอิง             ฉันทนา บรรณ และศิริโชติ หวันแก้ว. (2535). การศึกษาสถานภาพและนโยบายเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนผู้ด้อยโอกาส: เด็กทำงาน (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อ้างอิง                     (Deming, 2008)

เอกสารอ้างอิง             Deming, D., & Dynarski, S. (2008). The lengthening of childhood (NBER Working Paper 14124). Cambridge, MA: National Bureau of Economic Research.Retrieved October 24, 2008, from http://www.nber.org/paper/w1424

  1. 4. การอ้างถึงใน วิทยานิพนธ์

            อ้างอิง                           (วิภาสพล ชินวัฒนโชติ, 2550, น. 59)

         เอกสารอ้างอิง             วิภาสพล ชินวัฒนโชติ. (2550). ความพึงพอใจและแนวโน้มพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ที่มีขายในเซเว่นอีเลฟเว่น. สารนิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การตลาด). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

          อ้างอิง                    (Darling, 1976, p. 5)

เอกสารอ้างอิง             Darling, C. W. (1976). Giver of due regard: the poetry of Richard Wilbur.Unpublished doctoral dissertation, University of Connecticut, Storrs, CT.

5.การอ้างถึงใน วารสาร

            อ้างอิง                           (ประมูล สัจจิเศษ, 2541, น. 50)

เอกสารอ้างอิง             (ประมูล สัจจิเศษ. (2541). ปัญหาและแนวทางแก้ไขเศรษฐกิจไทย. สังคมศาสตร์ปริทัศน์, 19(2), 30-39.

อ้างอิง                           (Opasa, 1998, pp. 11-20)

เอกสารอ้างอิง             Oposa, Antonio. (1998). Environmental Conflict and Judicial Resolution in the Philippines. Asian Journal of Environmental Management, 6(1), 11-20.

6.การอ้างถึงใน ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

            อ้างอิง                           (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2551)

เอกสารอ้างอิง             มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2551). คู่มือการศึกษาปีการศึกษา 2551. ค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2551, จาก http://wwwpsu.acth/handbook

อ้างอิง                      (Brown, 1994)

เอกสารอ้างอิง             Brown, H. (1994). Citing computer references. Retrieved April 3, 1995, from http://neal.ctstateu.edu/history/cite.html

 

 

 

การบริหารความเสี่ยง (18)

ระยะห่าง 1 บรรทัด

 

 

RISK MANAGEMENT (18)

สกุณา แดงมา1 กรุณ สุดใจ2 (14)

ระยะห่าง 1 บรรทัด

 

 

Sakuna Daengma, Karun Sudjai (14)

บทคัดย่อ (16)

(14)………………………………...................................................................................................

คำสำคัญ: (14).....................................................................................................…................................

Abstract (16)

(14)………………………………....................................................................................................

Keywords: (14)........................................................................................................................................

บทนำ/ Introduction (16)

หัวข้อรอง (14)

(14)……………………………….....................................................................................................

วัตถุประสงค์ของการวิจัย/ Aims (16).

(14).................................................................................................................................................

ทบทวนวรรณกรรม/ Literature Review (16)

(14)..................................................................................................................................................

วิธีดำเนินการวิจัย/ Research Methodology (16)

(14)....................................................................................................................................................

ผลการวิจัย/ Results (16)

(14).....................................................................................................................................................

สรุปและอภิปรายผล/ Conclusions and Discussion   (16)

(14)......................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะ/ Suggestion (16)

(14).......................................................................................................................................................

กิตติกรรมประกาศ/ Acknowledgements (16)

(14)......................................................................................................................................................

เอกสารอ้างอิง/ References (16)

(14).....................................................................................................................

 

1 คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้เขียนหลัก อีเมล:                                    (12)

   Faculty of Business Administration for Society, Srinakharinwirot University, Corresponding Author,      (12)

   E-mail Address:……                                                                                         

2 คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อีเมล:                                                  (12)

   Faculty of Social Sciences, Srinakharinwirot University, E-mail Address:……      .                        (12)

การเตรียมต้นฉบับบทความเพื่อส่งพิจารณาตีพิมพ์

คำแนะนำการเตรียมต้นฉบับ

  1. พิมพ์ด้วยกระดาษ เอ 4 (พิมพ์หน้าเดียว) จำนวนไม่เกิน 15 หน้า (นับรวมบทคัดย่อ รูปภาพ ตารางที่ เอกสารอ้างอิง และภาคผนวก)
  2. ส่วนประกอบของบทความวิจัย ประกอบด้วย บทคัดย่อ บทนำ วัตถุประสงค์ของ การวิจัย อุปกรณ์และวิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิจัย สรุปและอภิปรายผล และเอกสารอ้างอิง

หมายเหตุ: ทุกบทความต้องมีบทคัดย่อเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ในกรณีที่ตีพิมพ์
 บทความเป็นภาษาต่างประเทศ จะต้องมีบทคัดย่อเป็นภาษาไทยด้วย

ข้อกำหนดในการเตรียมต้นฉบับบทความ

  • ขนาดกระดาษ เอ 4
  • กรอบของข้อความ ในแต่ละหน้าให้มีขอบเขตดังนี้ จากขอบบนของกระดาษ 1.25 นิ้ว ขอบล่าง 1.0 นิ้ว ขอบซ้าย 1.25 นิ้ว ขอบขวา 1.0 นิ้ว
  • ระยะห่างระหว่างบรรทัด หนึ่งช่วงบรรทัดของเครื่องคอมพิวเตอร์
  • ตัวอักษร ใช้บราววัลเลีย นิว (Browallia New) และพิมพ์ตามที่กำหนดดังนี้
    • ชื่อเรื่อง (Title) ให้มีทั้งชื่อภาษาไทย และภาษาอังกฤษ (ตัวอักษรพิมพ์ใหญ่) เป็นข้อความสั้นๆ และสื่อความหมายบ่งชี้ให้เห็นสาระสำคัญของเนื้อหา ขนาด 18 point กลางหน้ากระดาษ ตัวหนา
    • ชื่อผู้เขียนใส่ชื่อและนามสกุล ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และพิมพ์ footnote ข้อมูลหน่วยงานของผู้เขียนทุกท่านไว้เป็นภาษาอังกฤษ (ภาควิชา, คณะ, มหาวิทยาลัย, E-mail Address) ท้ายหน้าแรกของบทความนั้น

          หมายเหตุ ในกรณีที่มีผู้เขียนหลายคนให้เรียงลำดับโดยให้ชื่อผู้วิจัยหลักเป็นชื่อแรก โดยระบุคำว่า Corresponding Author และผู้เขียนท่านอื่นให้เรียงลำดับตามการทำงานวิจัยจากมากไปน้อย

  • บทคัดย่อ และ Abstract
    • ชื่อ “บทคัดย่อ” และ “Abstract” ขนาด 16 point กำหนดกึ่งกลาง ตัวหนา ข้อความบทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ควรสั้น กระชับ ตรงประเด็น ครอบคลุมสาระสำคัญของบทความ ขนาด 14 point, กำหนด ชิดขอบ ตัวธรรมดา
    • ย่อหน้า 0.5 นิ้ว
  • คำสำคัญ (ตัวหนา) ให้พิมพ์ต่อจากบทคัดย่อ และ Keywords (ตัวหนา) ให้พิมพ์ต่อจาก Abstract โดยคำแรกของคำภาษาอังกฤษให้ใช้ตัวอักษรตัวใหญ่ คั่นแต่ละคำด้วยเครื่องหมาย ควรเลือก คำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับบทความประมาณ 3-5 คำ ขนาด 14 point ตัวธรรมดา

 

รายละเอียดบทความ

  • หัวข้อใหญ่ ขนาด 16 point, กำหนดชิดซ้าย, ตัวหนา
  • หัวข้อรอง ขนาด 14 point, ตัวหนา, ย่อหน้า 0.5 นิ้ว
  • เนื้อหา ขนาด 14 point, กำหนดชิดขอบ, ตัวธรรมดา, ย่อหน้า 0.5 เท่ากับหัวข้อรอง (เฉพาะเริ่มต้นข้อความ/ ประเด็นใหม่) ส่วนอื่น กำหนดชิดขอบ
  • คำศัพท์ ให้ใช้ศัพท์บัญญัติของราชบัณฑิตยสถาน
  • ภาพและตารางที่
    • ให้ระบุคำว่า ภาพ หมายเลขภาพ และชื่อของภาพไว้ใต้ภาพประกอบ และจัดข้อความบรรยายภาพให้อยู่กึ่งกลางหน้ากระดาษ
    • ให้ระบุคำว่า ตารางที่ หมายเลขตารางที่ และชื่อตารางที่พร้อมไว้ด้านบนของตารางที่ ถ้าเป็นภาษาอังกฤษให้ใช้คำว่า TABLE ชื่อตารางที่ใช้อักษรตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด หัวข้อในตารางที่ อักษรตัวแรกให้ใช้ตัวพิมพ์ใหญ่
    • แหล่งที่มา ให้พิมพ์ห่างจากชื่อภาพประกอบหรือเส้นคั่นใต้ตารางที่ 1 บรรทัด (ใช้ตัวอักษรขนาด 14 point, ตัวธรรมดา)

ตัวอย่าง ภาพประกอบที่นำมาอ้างและการบอกแหล่งอ้างอิง

 
   

 

 

 

 

 

 

     ภาพที่ 1 แสดงผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในระบบการเงิน

 
 

                   ที่มา: รองศาสตราจารย์ สุพาดา สิริกุตตา และคนอื่นๆ . (2552) . การเงินธุรกิจ. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมสาร จำกัด. หน้า 11.

 

 

 

 

 

 

ตัวอย่าง ตารางที่นำมาอ้างและการบอกแหล่งอ้างอิง

ตารางที่ 1 แสดงการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างข้อมูลปฐมภูมิกับข้อมูลทุติยภูมิ

ลักษณะ

ข้อมูลปฐมภูมิ

(Primary data)

ข้อมูลทุติยภูมิ

(Secondary data)

·     จุดมุ่งหมาย (Purpose)

·     กระบวนการ (Process)

·     ต้นทุน (Cost)

·     ระยะเวลา (Time)

·     สำหรับปัญหาที่กำลังวิจัยอยู่

·     ผู้ทำวิจัยต้องมีส่วนร่วมอย่างมากมาย (Very involved)

·     สูง

·     นาน

·     สำหรับปัญหาอื่น

·     รวดเร็วและง่าย (Rapid and easy)

·     ค่อนข้างต่ำ

·     รวดเร็ว

 ที่มา: รองศาสตราจารย์ ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคนอื่นๆ . (2549). การวิจัยการตลาด. กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมสาร จำกัด. หน้า 80.

 

 

รูปแบบการเขียนอ้างอิงและการเขียนเอกสารอ้างอิง (American Psychological Association: APA Style)

  1. 1. การอ้างถึงใน หนังสือ

- กรณีผู้แต่ง 1 คน

          อ้างอิง                     (สีดา สอนศรี, 2547, น. 20)

เอกสารอ้างอิง             สีดา สอนศรี. (2547). ผู้นำในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อ้างอิง                     (Michael, 1996, p. 4)

เอกสารอ้างอิง             Michael, J. G. (1996). Environmental Chang in Southeast Asia. New York: Routledge.

- กรณีผู้แต่ง 2 คน

อ้างอิง                     (โคริน เฟื่องเกษม และชัยโชค จุลศิริวงศ์, 2544, น. 150)

เอกสารอ้างอิง             โคริน เฟื่องเกษม และชัยโชค จุลศิริวงศ์. (2544). การเมืองระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อ้างอิง                     (Parnwell, & Evana, 2001, pp. 30-40)

เอกสารอ้างอิง             Parnwell, M. G., & Michael, J. G. (1966). Environmental Chang in Southeast Asia. New York: Routledge.

- กรณีผู้แต่ง 3-5 คน

อ้างอิงครั้งแรก            (สีดา สอนศรี, วิทยา สุจริตธนารักษ์, โคริน เฟื่องเกษม, ชปา จิตต์ประทุม และดอน สุขศรีทอง, 2552, น. 18)

อ้างอิงครั้งต่อไป          (สีดา สอนศรี และคนอื่นๆ , 2552, น. 18)        

เอกสารอ้างอิง             สีดา สอนศรี, วิทยา สุจริตธนารักษ์, โคริน เฟื่องเกษม, ชปา จิตต์ประทุม และดอน สุขศรีทอง. (2552). การจัดการสิ่งแวดล้อมในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

อ้างอิงครั้งแรก            (Monroe, Evana, Smith, & Hensly, 2003, p. 5)

อ้างอิงครั้งต่อไป          (Monroe, et al., 2003, p. 5)

เอกสารอ้างอิง             Monroe, R. L., Evona, D. J., Smith, C. T., & Hensly, Brown. (2003).Co-Management of Natural Resource in Asia: A comparative perspective. Nias Press.

- กรณีผู้แต่งมากกว่า 6 คน

          อ้างอิง                     (จรวย บุญยุบล และคนอื่นๆ , 2536, น. 11)

เอกสารอ้างอิง             จรวย บุญยุบล และคนอื่นๆ. (2536). พลังงาน. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

 

อ้างอิง                     (จรวย บุญยุบล และคนอื่นๆ, 2536, น. 11)

เอกสารอ้างอิง             Cramer, R. L., et al., (1984). Language: Structure and use (2nd ed). Illinois: Scott.

- บรรณาธิการ ผู้รวบรวม ผู้เรียบเรียง

          อ้างอิง                     (อุกกฤษฎ์ ปัทมานนท์, 2548, น. 352)

          เอกสารอ้างอิง             อุกกฤษฎ์ ปัทมานนท์ (บก.). (2548). เอเชียรายปี 2548.                                                             กรุงเทพฯ: สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อ้างอิง                     (Smith, 1983, Chap. 5)

เอกสารอ้างอิง             Smith, A. D. (Ed.). (1983). Psychology: Principle and Practice. New York: Thieme.

 

2.การอ้างถึงใน บทความในหนังสือ

          อ้างอิง                     (ชัยโชค จุลศิริวงศ์, 2548, น. 293-420)

          เอกสารอ้างอิง             ชัยโชค จุลศิริวงศ์. (2548). ผู้นำมาเลเซีย. ในสีดา สอนศรี                                                           (หัวหน้าโครงการ) ผู้นำในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: ศึกษาเฉพาะ                                                                ประเทศอินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ มาเลเซีย และไทย.                                                          (น. 293-420). กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

          อ้างอิง                     (McLennan, 2001, p. 49)

เอกสารอ้างอิง             McLennan, G. (2001). Maintaining Marx. In G. Ritzer and B.Smart (Eds.). Handbook of Social Theory. (pp. 43-53). London: Sage.

  1. การอ้างถึงใน รายงานการวิจัย

            อ้างอิง                          (ฉันทนา บรรณ และศิริโชติ หวันแก้ว, 2535, น. 75)

เอกสารอ้างอิง             ฉันทนา บรรณ และศิริโชติ หวันแก้ว. (2535). การศึกษาสถานภาพและนโยบายเกี่ยวกับเด็กและเยาวชนผู้ด้อยโอกาส: เด็กทำงาน (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อ้างอิง                     (Deming, 2008)

เอกสารอ้างอิง             Deming, D., & Dynarski, S. (2008). The lengthening of childhood (NBER Working Paper 14124). Cambridge, MA: National Bureau of Economic Research.Retrieved October 24, 2008, from http://www.nber.org/paper/w1424

  1. 4. การอ้างถึงใน วิทยานิพนธ์

            อ้างอิง                           (วิภาสพล ชินวัฒนโชติ, 2550, น. 59)

         เอกสารอ้างอิง             วิภาสพล ชินวัฒนโชติ. (2550). ความพึงพอใจและแนวโน้มพฤติกรรมของผู้บริโภคที่มีความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ที่มีขายในเซเว่นอีเลฟเว่น. สารนิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (การตลาด). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

          อ้างอิง                    (Darling, 1976, p. 5)

เอกสารอ้างอิง             Darling, C. W. (1976). Giver of due regard: the poetry of Richard Wilbur.Unpublished doctoral dissertation, University of Connecticut, Storrs, CT.

5.การอ้างถึงใน วารสาร

            อ้างอิง                           (ประมูล สัจจิเศษ, 2541, น. 50)

เอกสารอ้างอิง             (ประมูล สัจจิเศษ. (2541). ปัญหาและแนวทางแก้ไขเศรษฐกิจไทย. สังคมศาสตร์ปริทัศน์, 19(2), 30-39.

อ้างอิง                           (Opasa, 1998, pp. 11-20)

เอกสารอ้างอิง             Oposa, Antonio. (1998). Environmental Conflict and Judicial Resolution in the Philippines. Asian Journal of Environmental Management, 6(1), 11-20.

6.การอ้างถึงใน ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์

            อ้างอิง                           (มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2551)

เอกสารอ้างอิง             มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2551). คู่มือการศึกษาปีการศึกษา 2551. ค้นเมื่อ 3 ธันวาคม 2551, จาก http://wwwpsu.acth/handbook

อ้างอิง                      (Brown, 1994)

เอกสารอ้างอิง             Brown, H. (1994). Citing computer references. Retrieved April 3, 1995, from http://neal.ctstateu.edu/history/cite.html

 

 

 

การบริหารความเสี่ยง (18)

ระยะห่าง 1 บรรทัด

 

 

RISK MANAGEMENT (18)

สกุณา แดงมา1 กรุณ สุดใจ2 (14)

ระยะห่าง 1 บรรทัด

 

 

Sakuna Daengma, Karun Sudjai (14)

บทคัดย่อ (16)

(14)………………………………...................................................................................................

คำสำคัญ: (14).....................................................................................................…................................

Abstract (16)

(14)………………………………....................................................................................................

Keywords: (14)........................................................................................................................................

บทนำ/ Introduction (16)

หัวข้อรอง (14)

(14)……………………………….....................................................................................................

วัตถุประสงค์ของการวิจัย/ Aims (16).

(14).................................................................................................................................................

ทบทวนวรรณกรรม/ Literature Review (16)

(14)..................................................................................................................................................

วิธีดำเนินการวิจัย/ Research Methodology (16)

(14)....................................................................................................................................................

ผลการวิจัย/ Results (16)

(14).....................................................................................................................................................

สรุปและอภิปรายผล/ Conclusions and Discussion   (16)

(14)......................................................................................................................................................

ข้อเสนอแนะ/ Suggestion (16)

(14).......................................................................................................................................................

กิตติกรรมประกาศ/ Acknowledgements (16)

(14)......................................................................................................................................................

เอกสารอ้างอิง/ References (16)

(14).....................................................................................................................

 

1 คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ผู้เขียนหลัก อีเมล:                                    (12)

   Faculty of Business Administration for Society, Srinakharinwirot University, Corresponding Author,      (12)

   E-mail Address:……                                                                                         

2 คณะบริหารธุรกิจเพื่อสังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ อีเมล:                                                  (12)

   Faculty of Social Sciences, Srinakharinwirot University, E-mail Address:……      .                        (12)