https://ejournals.swu.ac.th/index.php/ENEDU/issue/feed
สารานุกรมศึกษาศาสตร์ (Encylopedia of Education)
2023-01-24T05:10:57+00:00
Ophat Sukwan
ophast@hotmail.com
Open Journal Systems
สารานุกรมศึกษาศาสตร์ (Encylopedia of Education)
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/ENEDU/article/view/15018
การรู้ดิจิทัล
2023-01-24T04:58:29+00:00
แววตา เตชาทวีวรรณ
ophast@hotmail.com
อัจศรา ประเสริฐสิน
ophast@hotmail.com
<p>การรู้ดิจิทัล (Digital Literacy) หมายถึง ความสามารถทั้งการตระหนักรู้และมีทักษะทางเทคนิคในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและสื่อดิจิทัลต่างๆ เพื่อค้นหา ประเมิน สร้าง และสื่อสารสารสนเทศตามความต้องการได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีจริยธรรม</p>
2019-01-01T00:00:00+00:00
Copyright (c) 2023 สารานุกรมศึกษาศาสตร์ (Encylopedia of Education)
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/ENEDU/article/view/15014
ความเข้มแข็งของครอบครัว
2023-01-24T04:40:40+00:00
ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์
ophast@hotmail.com
<p>ความเข้มแข็งของครอบครัว (Family Strength) หมายถึง คุณลักษณะทางจิตวิทยาภายในครอบครัวที่ประกอบด้วย ความรัก ความผูกพันการมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน การสื่อสารทางการใช้ชีวิตร่วมกัน การมีกิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน การมีความสามารถในการบริหารจัดการปัญหาและความขัดแย้ง ตลอดจนความทุกข์ใจ การมีคุณธรรม<br>จริยธรรม และการเห็นคุณค่าของกันและกัน</p>
2019-01-01T00:00:00+00:00
Copyright (c) 2023 สารานุกรมศึกษาศาสตร์ (Encylopedia of Education)
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/ENEDU/article/view/15015
ความสิ้นหวังจากการเรียนรู้
2023-01-24T04:47:26+00:00
อรรควิช จารึกจารีต
ophast@hotmail.com
<p>ความสิ้นหวังจากการเรียนรู้หรือการยอมจำนนอันเกิดจากการเรียนรู้(Learned Helplessness)หมายถึง สภาวะที่อินทรีย์เกิดการเรียนรู้ที่จะยอมรับและแบกรับสิ่งเร้าที่ไม่พึงพอใจ รวมทั้งไม่คิดจะหลีกเลี่ยงสิ่งเร้านั้น แม้ว่าจะสามารถหลีกเลี่ยงได</p>
2019-01-01T00:00:00+00:00
Copyright (c) 2023 สารานุกรมศึกษาศาสตร์ (Encylopedia of Education)
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/ENEDU/article/view/15016
พฤติกรรมเอื้อสังคม
2023-01-24T04:50:10+00:00
อธิวัฒน์ รัตนวงศ์แข
ophast@hotmail.com
<p>พฤติกรรมเอื้อสังคม (Prosocial Behavior) หมายถึง การกระทำของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่เป็นประโยชน์แก่บุคคลอื่นหรือกลุ่มบุคคลอื่นด้วยความสมัครใจ โดยไม่หวังผลประโยชน์หรือรางวัลตอบแทนใดๆ จากการกระทำ เหล่านั้น โดยการกระทำดังกล่าวอาจทำ ให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลต้องเสียสละกำ ลังกาย กำ ลังความคิด เวลา ทรัพย์สิน หรือบางครั้งอาจเป็นการเสี่ยงต่อชีวิตของผู้กระทำ ได้</p>
2019-01-01T00:00:00+00:00
Copyright (c) 2023 สารานุกรมศึกษาศาสตร์ (Encylopedia of Education)
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/ENEDU/article/view/15017
การสะท้อนคิดเกี่ยวกับตนเองของครู
2023-01-24T04:52:44+00:00
อัญชลี จันทร์เสม
ophast@hotmail.com
<p>การสะท้อนคิดเกี่ยวกับตนเองของครู (Teacher’s Self Reflection) หมายถึง กระบวนการที่ครูสังเกต คิดทบทวน วิเคราะห์ ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง ความรู้สึก ความคิด และการสอนของตนเองเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบเพื่อตอบคำ ถามแก่ตนเองว่าการวางแผนการสอนกระบวนการสอนและผลลัพธ์ที่ได้จากการสอนเป็นอย่างไร มีประสิทธิภาพต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนหรือไม่ อย่างไร อันจะนำ ไปสู่การหาเหตุผลและแนวทางให้ตนเองปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงการสอนให้มีคุณภาพยิ่งขึ้น</p>
2019-01-01T00:00:00+00:00
Copyright (c) 2023 สารานุกรมศึกษาศาสตร์ (Encylopedia of Education)
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/ENEDU/article/view/15012
แนะนำผู้เขียน
2023-01-24T04:28:03+00:00
กองบรรณาธิการ สารานุกรมศึกษาศาสตร์
ophast@hotmail.com
<p>แนะนำรายชื่อผู้เขียน</p>
2023-01-24T00:00:00+00:00
Copyright (c) 2023 สารานุกรมศึกษาศาสตร์ (Encylopedia of Education)
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/ENEDU/article/view/15011
ส่วนนำ สารานุกรมศึกษาศาสตร์
2023-01-24T04:21:20+00:00
กองบรรณาธิการ สารานุกรมศึกษาศาสตร์
ophast@hotmail.com
<p>คณะผู้จัดทำ<br>บทบรรณาธิการ</p> <p>สารบัญ</p>
2019-01-01T00:00:00+00:00
Copyright (c) 2023 สารานุกรมศึกษาศาสตร์ (Encylopedia of Education)
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/ENEDU/article/view/15021
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทรงศักดิ์ ศรีกาฬสินธุ์
2023-01-24T05:08:39+00:00
สำเริง บุญเรืองรัตน์
ophast@hotmail.com
<p>ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ทรงศักดิ์ ศรีกาฬสินธุ์</p>
2019-01-01T00:00:00+00:00
Copyright (c) 2023 สารานุกรมศึกษาศาสตร์ (Encylopedia of Education)
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/ENEDU/article/view/15022
วารสารวิชาการ
2023-01-24T05:10:57+00:00
เฉลิมศักดิ์ สุภาผล
ophast@hotmail.com
<p>วารสารวิชาการ (Scholarly Journal) หมายถึง เอกสารวิชาความรู้ในสาขาใดสาขาหนึ่งหรือหลายสาขาวิชาที่ตีพิมพ์เรื่องที่เป็นผลงานวิจัยหรือบทความวิชาการ หรือบทความอื่นๆ ที่มีผู้ทรงคุณวุฒิตรวจรับรองและมีกำ หนดการเผยแพร่ตามเวลาที่แน่นอน</p>
2019-01-01T00:00:00+00:00
Copyright (c) 2023 สารานุกรมศึกษาศาสตร์ (Encylopedia of Education)
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/ENEDU/article/view/15019
ศิลปะตามแนวคิดของ อารี สุทธิพันธ์
2023-01-24T05:02:57+00:00
พลวัฒ ประพัฒน์ทอง
ophast@hotmail.com
<p>ศิลปะตามแนวคิดของอารี สุทธิพันธุ์ หมายถึง รูปแบบผลงานทางศิลปะที่อารีได้สร้างขึ้นตั้งแต่พ.ศ.2500 ถึง พ.ศ.2557โดยศึกษาผลงานในแต่ละช่วงชีวิตของอารีในแนวคิดทางสังคมศาสตร์ ด้านวาทกรรมการพัฒนา ที่เป็นยุคตะวันตกสร้างตะวันออก รสนิยมแบบประชาธิปไตย และความเสื่อมของอารยธรรมตะวันออก และบทความนี้ยังได้กล่าวถึงอารีในฐานะผู้ค้นหาความเป็นไทยและประชาธิปไตย กลุ่มงานศิลปะของอารีได้แสดงและสร้างอัตลักษณ์ความเป็นรัฐชาติที่ยืนยันว่าสังคมไทยยังไม่เปลี่ยนแปลง ทั้งในด้านสังคมระบบอุปถัมภ์ เพื่อการรื้อสร้างประสบการณ์ทางสังคมใหม่</p>
2019-01-01T00:00:00+00:00
Copyright (c) 2023 สารานุกรมศึกษาศาสตร์ (Encylopedia of Education)
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/ENEDU/article/view/15020
ศิลปะการแพทย์แผนไทย
2023-01-24T05:06:20+00:00
อรัญ วานิชกร
ophast@hotmail.com
<p>ศิลปะการแพทย์แผนไทย (Thai ArtsTraditional Medicine) หมายถึง ศิลปกรรมที่ถูกออกแบบและสร้างสรรค์ขึ้นด้วยหลักคิดและทฤษฎีทางศิลปะเพื่อส่งเสริมภาพลักษณ์ที่เหมาะสมและมีคุณค่าทางการแพทย์แผนไทย</p>
2019-01-01T00:00:00+00:00
Copyright (c) 2023 สารานุกรมศึกษาศาสตร์ (Encylopedia of Education)
https://ejournals.swu.ac.th/index.php/ENEDU/article/view/15013
ความผิดปกติของการได้ยินจากความเสื่อมของระบบประสาท
2023-01-24T04:30:20+00:00
ศิริพันธ์ ศรีวันยงค์
ophast@hotmail.com
ฑมลา บุญกาญจน์
ophast@hotmail.com
<p>ความผิดปกติของการได้ยินจากความเสื่อมของระบบประสาท (Auditory Neuropathy : AN) คือ ความผิดปกติในการเข้าใจคำ พูดหรือการรับรู้เสียงที่เกิดขึ้นจากความเสื่อมของระบบประสาท เกิดขึ้นเมื่อเสียงเดินทางไปถึงหูชั้นใน (Inner Ear) ได้ปกติ แต่ไม่สามารถเดินทางไปสู่สมองได้ ความผิดปกติของการได้ยินชนิดนี้มีชื่อเรียกต่างๆ เช่น Auditory Dys-synchrony (AD) หรือ Auditory Neuropathy Spectrum Disorder (ANSD)</p>
2023-01-24T00:00:00+00:00
Copyright (c) 2023 สารานุกรมศึกษาศาสตร์ (Encylopedia of Education)